Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล
ชนิดของแผลและปัจจัยการส่งเสริมการหายของแผล
ชนิดของแผล (Type of wound)
แบ่งตามลำดับความสะอาด
แบ่งตามระยะเวลาการเกิด
แบ่งตามลักษณะ
แบ่งตามการรักษา
แบ่งตามสาเหต
ชนิดของแผลแบ่งตามสาเหตุ
แผลที่เกิดจากการผ่าตัดรียก surgical wound , sterile wound
แผลที่เกิดจากถูกของมีคมตัดเรียก cut wound
แผลที่เกิดจำกถูกของมีคมทิ่มแทง เรียก stab wound
แผลที่เกิดจากโดนระเบิด เรียก explosive wound
แผลที่เกิดจากถูกบดขยี้ เรียก crush wound
แผลที่เกิดจากถูกยิง เรียก gunshot wound
แผลที่เกิดจากการถูไถลถลอก เรียก abrasion wound
แผลที่เกิดจากการติดเชื้อมีหนอง เรียก infected wound
ชนิดของแผลแบ่งตามลักษณะพื้นผิว
แผลลักษณะแห้ง (dry wound) หมำยถึง ลักษณะของแผลมีขอบแผลติดกันอำจเกิดกำรติดกันเอง
แผลลักษณะเปียกชุ่ม (wet wound) หมำยถึง ลักษณะของขอบแผลไม่ติดกัน
ชนิดของบาดแผลแบ่งตามระยะเวลาการเกิด
แผลที่เกิดเฉียบพลัน (acute wound) เป็นการเกิดแผล และรักษาให้หายในระยะเวลาอันสั้น
แผลเรื้อรัง (chronic wound) เป็นแผลที่เกิดขึ้นเป็นระยะเวลานาน และรักษายาก หรือรักษำเป็นเวลานาน
แผลเนื้อตาย (gangrene wound) เป็นแผลที่เกิดจากการขาดเลี้ยงไปเลี้ยงหรือเลือดมาเลี้ยงไม่เพียงพอ
ปัจจัยที่มีผลต่อการหายของบาดแผล
ปัจจัยเฉพาะที่ (Local factors)
แรงกด (pressure)
ภาวะแวดล้อมแห้ง (dry environment)
การได้รับอันตรายและอาการบวม (trauma and edema)
ปัจจัยระบบ (Systemic factors)
อายุ (age)
โรคเรื้อรัง (chronic disease)
น้ำในร่างกาย (body fluid)
ภาวะโภชนาการ (nutritional status)
ลักษณะและกระบวนการหายของแผล
ลักษณะการหายของแผล (Type of wound healing)
การหายของแผลแบบปฐมภูมิ(Primary intention healing)
การหายของแผลแบบทุติยภูมิ(Secondary intention healing )
การหายของแผลแบบตติยภูมิ(Tertiary intention healing)
กระบวนการหายของแผล (Stage of wound healing)
ระยะ1: ห้ามเลือดและอักเสบ (Hemostasis and Inflammatory phase)
การห้ามเลือด(hemostasis)จะเกิดขึ้นก่อน ในเวลา 5-10 นาที
ระยะ 2: การสร้างเนื้อเยื่อ (Proliferate phase)เป็นระยะการสร้างเนื้อเยื่อใหม่จะเริ่มตั้งแต่วันที่ 4-12 วัน
ระยะ 3: การเสริมความแข็งแรง (Remodeling phase) เป็นระยะสุดท้ายของกำรสร้ำงและความสมบูรณ์ของคอลลาเจน
วิธีการเย็บแผล
Interrupted method เป็นวิธีการเย็บแผลที่ต้องตัดวัสดุเย็บแผลในทุกฝีเข็ม
Subcuticular method เป็นการเย็บแผลแบบ continuous method แต่ใช้เข็มตรงในการเย็บ และซ่อนวัสดุเย็บแผลไว้ในชั้นใต้ผิวหนัง เหมาะสำหรับการเย็บด้านศัลยกรรมตกแต่งเพื่อความสวยงาม
Continuous method เป็นวิธีการเย็บแผลแบบต่อเนื่องตลอดความยาวของแผล
Retention method (Tension method) เป็นวิธีการเย็บรั้งแผลเข้ำหากัน เพื่อพยุงแผลในกรณีผู้ที่มีชั้นไขมันหน้ำท้องหนา
วัสดุที่ใช้ในการเย็บแผล
วัสดุที่ละลายได้เอง (Absorbable sutures)
เส้นใยธรรมชาติได้แก่ catgut ทำมาจาก collagen ใน submucosa ของลำไส้แกะหรือวัวเริ่มยุ่ยสลาย 4-5 วันและจะหมดไปภายใน 2 สัปดาห์
เส้นใยสังเคราะห์ เช่น polyglycolic acid (dexon), polyglycan (vicryl)
ละลายได้เร็ว 5-10 วัน ใช้เย็บกล้ามเนื้อที่ไม่ลึกมากละลายได้ช้ำ
10-20 วัน ไม่ค่อยระคายเคือง
วัสดุที่ไม่ละลายเอง (Non-absorbable sutures)
เส้นใยตามธรรมชาติเช่น ไหมเย็บแผล (silk) ราคาถูก ผูกปมง่าย และไม่คลายง่าย
เส้นใยสังเคราะห์เช่น nylon เส้นเหล่ำนี้มีควำมแข็งแรงมากกว่าไหมเย็บแผลแต่ผูกปมยากและคลายได้ง่าย
วัสดุที่เย็บเป็นโลหะ เช่น ลวดเย็บ (staples) เป็นวัสดุเย็บแผลสำเร็จรูป แต่ต้องมีเครื่องมือสำหรับใส่ลวดเย็บ
วิธีการทำแผลชนิดต่างๆ และการตัดไหม
ชนิดของการทำแผล
การทำแผลแบบแห้ง (Dry dressing)
การทำแผลแบบเปียก (Wet dressing)
อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำแผล
อุปกรณ์ทำความสะอาดแผล
วัสดุสำหรับปิดแผล
วัสดุสำหรับยึดติดผ้าปิดแผล
อุปกรณ์อื่น ๆ
ภาชนะสำหรับทิ้งสิ่งสกปรก
วิธีการพันแผลชนิดต่างๆ
ชนิดของผ้าพันแผล
ผ้าสามเหลี่ยม (triangular bandage)
ผ้าพันแผลชนิดม้วน (roller bandage)
ผ้าพันแผลชนิดพิเศษ (special bandage)
การพันผ้าแบบชนิดม้วน
การพันแบบวงกลม (circular turn)
การพันแบบเกลียว (spiral turn)
การพันแบบเกลียวพับกลับ (spiral reverse)
การพันเป็นรูปเลข 8 (figure of eight)
การพันแบบกลับไปกลับมา (recurrent)
ปัจจัยที่ทำให้เกิดแผลกดทับ
ระยะของแผลกดทับและการป้องกันแผลกดทับ
พยาธิสภาพของการเกิดแผลกดทับ
ขณะที่มีแรงกดทับลงบนผิวหนังจะมีค่าเฉลี่ยของแรงกดกับหลอดเลือดฝอยเท่ำกับ 25มม.ปรอท เมื่อมีแรงกดทับผิวหนังที่ทำกับปุ่มกระดูกเป็นเวลานานทำให้ผิวหนังและเนื้อเยื่อรอบ ๆขำดออกซิเจนจากโลหิตมำเลี้ยงไม่ได้
ปัจจัยส่งเสริมการเกิดแผลกดทับ
ปัจจัยภายในร่างกาย
ปัจจัยภายนอกร่างกาย
ระยะของแผลกดทับ
ระดับที่ 1 ผิวหนังแดงไม่มีกำรฉีกขำดของผิวหนังและไม่จางหายไปภายใน 30 นาที
ระดับที่ 2 ผิวหนังแดงเริ่มมีแผลเล็กๆ มีหนังแท้ถูกทำลายฉีกขาดเป็นแผลตื้น
มีรอยแดงบริเวณเนื้อเยื่อรอบๆ และเริ่มมีสารคัดหลั่งจากแผล
ระดับที่ 3 แผลลึกถึงชั้นไขมัน (subcutaneous) แต่ยังไม่ถึงชั้นกล้ำมเนื้อ (muscle)มีรอยแผลลึก มีสิ่งขับหลั่งจากแผล เริ่มมีกลิ่นเหม็นยังไม่มีเนื้อตาย(necrosis tissue)
ระดับที่ 4 แผลลึก เป็นโพรงถึงกล้ำมเนื้อ กระดูก และเยื่อหุ้มข้อ พบมีเนื้อตาย
กระบวนการพยาบาลในการพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล
วัตถุประสงค์
เพื่อส่งเสริมการหายของแผลให้เป็นไปตามกระบวนการหายของแผลผ่าตัด
กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีแผลกดทับ
การประเมินภาวะสุขภาพ (Assessment)
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Diagnosis)
การวางแผนให้การพยาบาล (Planning)
การให้การพยาบาลตามแผนการพยาบาลที่วางไว้
การประเมินผลการพยาบาล