Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การติดเชื้อที่มาจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (SEXUALLY TRANSMITTED…
การติดเชื้อที่มาจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
(SEXUALLY TRANSMITTED INFECTIONS: STIS)
การตกขาว (LEUKORRHEA)
การตกขาวจากการติดเชื้อพยาธิ (VAGINAL TRICHOMONIASIS)
VAGINAL TRICHOMONIASIS
การตกขาวจากการติดเชื้อพยาธิ หรือเชื้อโปรโตซัวtrichomonas vaginalis
เจริญเติบโตได้ดีในสภาวะที่เป็นด่าง pH ประมาณ 5.8-7 อุณหภูมิประมาณ 37OC
การติดต่อมีได้ 2 ทางคือ ทางเพศสัมพันธ์ และอวัยวะเพศสัมผัสเชื้อโดยตรง
อาการและอาการแสดง
10% ไม่แสดงอาการ
50% พบโรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ร่วม
ระคายเคืองปากช่องคลอด(strawberry spot /flea bitten cervix)
ปัสสาวะแสบขัดหรือบ่อย
ปวดแสบปวดร้อนบริเวณต้นขาด้านใน
Dyspareunia
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
PROM
Preterm labor
ผลกระทบต่อทารกในครรภ์
Prematurity
LBW
การพยาบาลระยะตั้งครรภ์
ให้คำแนะนำและการดูแลเหมือนสตรีตั้งครรภ์ทั่วไป
แนะนาการเหน็บยาหรือการรับประทานยาตามแผนการรักษา
แนะนำให้สามีมารับการรักษาพร้อมกัน
แนะนำการมี SI อย่างปลอดภัย
แนะนำการรักษาความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกให้แห้งสะอาดเสมอ
การพยาบาลระยะคลอด
ให้การพยาบาลผู้คลอดในระยะคลอด โดยให้คลอดทางช่องคลอดได้ตามปกติ
การพยาบาลระยะหลังคลอด
แนะนำให้ BF ได้ ล้างมือทุกครั้งก่อนสัมผัสบุตร
ต้องได้รับการรักษาทั้งสามีและภรรยาให้หาย ช่วงมีอาการ ให้งด SI และรักษาให้หาย
แนะนำการมีSI อย่างปลอดภัยโดยใช้Condom ทุกครั้ง
หากอาการยังไม่ดีขึ้น ให้พบแพทย์
การตกขาวจากการติดเชื้อแบคทีเรีย (BACTERIAL VAGINOSIS)
BACTERIAL VAGINOSIS
Lactobacillus เป็น vaginal normal flora
Bacteria ที่เป็นสาเหตุทำให้ช่องคลอดอักเสบ
แบคทีเรียที่ทำให้ช่องคลอดอักเสบมากที่สุดชื่อ gardnerellavaginalis
Pregnancy
อาการและอาการแสดง
คัน ปวดแสบปวดร้อนปากช่องคลอด ในช่องคลอด
Dysuria
Dyspareunia
Abnormal Leukorrhea
Fishy smell
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารกในครรภ์
Pregnancy
chorioamnionitis, salpingitis, pelvic inflammatory disease (PID)
septic abortion, PROM, Preterm labor
PP N/D & C/S
Fetus & NB
IUGR
Prematurity
LBW
RDS
Bacteremia
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
เหมือนการตกขาวจากการตืดเชื้อและเชื้อรา
หากมีอาการปวดท้อง ท้องแข็งบ่อย มีเลือดออกทางช่องคลอด ให้รีบไปพบแพทย์ทันที
ระยะคลอด
ND (normal delivery) ได้ให้การพยาบาลเหมือนผู้คลอดทั่วไป
ระยะหลังคลอด
ให้การดูแลเหมือนมารดาหลังคลอดทั่วไป
สามารถBF ได้ เน้นการล้างมือทุกครั้งก่อนสัมผัสบุตร
ท าความสะอาดของอวัยวะสืบพันธุ์ให้สะอาดและแห้งเสมอ
หากมีอาการผิดปกติให้รีบมาพบแพทย์ทันที
LEUKORRHEA
การมีของเหลวไหลออกทางช่องคลอดซึ่งไม่ใช่เลือด เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของระดับฮอร์โมนของร่างกายต่อเยื่อบุช่องคลอด
lactobacillus ซึ่งเป็นแบคทีเรียดีในช่องคลอด เปลี่ยน glycogenจากเยื่อบุช่องคลอดให้เป็นกรดlactic acid และไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์
ทาให้สภาพในช่องคลอดมีฤทธิ์เป็นกรด
ภาวะที่มีการตกขาวเพิ่มมากกว่าปกติ ร่วมกับมีอาการคัน หรือปวดแสบร้อน
การตกขาวจากการติดเชื้อรา (VULVOVAGINAL CANDIDIASIS)
ปัจจัยและปัจจัยเสี่ยง
ยา ABO การรักษาบางชนิด ทำให้มีการทำลายlactobacillus ที่ฆ่าเชื้อราในช่องคลอด
การได้รับ Steroid hr. ยากดภูมิต้านทานทำให้ภูมิต้านทานของร่างกายลดลง
การรับประทานยาคุมก าเนิดชนิดhigh dose ท าให้มีการเพิ่มระดับฮอร์โมนestrogen
ภูมิต้านทานของร่างกายถูกกดจากการเป็นโรคAIDSหรือได้รับเคมีบ าบัด
การควบคุมภาวะเบาหวานไม่ดี มีระดับBS ในเลือดสูง
รับประทานอาหารที่มีแป้งและน้าตาลมาก
สวมใส่ชุดชั้นในที่แน่นเกินไปทำให้เกิดความอับชื้
ใช้น้ายาล้างทำความสะอาดช่องคลอดและปากช่องคลอดบ่อย
การใส่แผ่นอนามัยโดยไม่เปลี่ยนระหว่างวันหรือไม่สะอาด
ความเครียดพักผ่อนที่ไม่เพียงพอทำให้ระบบภูมิต้านทานร่างกายต่ำ
ขณะตั้งครรภ์
estrogen สูงขึ้นทำให้ระดับglycogen ในช่องคลอดสูงขึ้นตาม
ปฏิกิริยาของ T-cell ซึ่งทำหน้าที่สร้างภูมิต้านทานให้กับร่างกายลดลง ส่งผลให้เชื้อราเจริญเติบโตขึ้นและทำให้เกิดการอักเสบของเยื่อบุช่องคลอดชนิด squamous
ขบวนการเผาผลาญคาร์โบไฮเดรตขณะตั้งครรภ์ภาวะความเป็นกรด-ด่าง ในช่องคลอดที่เปลี่ยนไปทาให้เชื้อราเจริญเติบโตได้
อาการและอาการแสดง
ไม่มีอาการ
คันและระคายเคืองมากในช่องคลอดและปากช่องคลอด
dyspareunia
external dysuria
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
ผลกระทบต่อทารก
ทารกแรกเกิดเป็นเชื้อราในช่องปาก (oral thrush) ได้มากกว่าปกติ 2-35 เท่า
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
อาการเป็นมากขึ้นเป็น 2เท่า
มีทั้งทั้งแบบไม่มีอาการและมีอาการ
ระคายเคือง คันช่องคลอดมากขึ้น
ไม่มีผลเสียต่อการตั้งครรภ์
การพยาบาลระยะตั้งครรภ์
อธิบายให้เข้าใจสาเหตุของการติดเชื้อ และการดูแลตนเอง
แนะนำการใช้ยาทา และยาเหน็บช่องคลอดตามแพทย์สั่ง
การทำความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก และการทำความสะอาดชุดชั้นใน
หากอาการติดเชื้อเป็นซ ้ำๆหรือสามีมีอาการแสดง ควรพาสามีให้มารักษาพร้อมกัน
ระยะคลอด
สามารถให้คลอดทางช่องคลอดได้ตามปกติ
ระยะหลังคลอด
ระดับestrogen และprogesterone ลดลง
การดูแลมารดาหลังคลอดเหมือนมารดาหลังคลอดทั่วไป
เน้นการดูแลความสะอาดของอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
สามารถเลี้ยงBF ได้ โดยต้องล้างมือทุกครั้งก่อนสัมผัสบุตร
NB อาจมีการติดเชื้อในช่องปาก
ABNORMAL LEUKORRHEA
ภาวะที่มีการตกขาวเพิ่มมากกว่าปกติ ร่วมกับมีอาการคัน หรือปวดแสบร้อน
ตกขาวมีกลิ่นเหม็น และอาการจะไม่หายไปเอง
เชื้อที่ทำให้เกิดการอักเสบและติดเชื้อ
การติดเชื้อรา candida albicans
การติดเชื้อพยาธิ trichomonas vaginalis
การติดเชื้อแบคทีเรียบางชนิดที่ไม่อาศัยออกซิเจน Gardnerella vaginalis
ซิฟิลิส (SYPHILIS)
SYPHILIS
เกิดจากการติดเชื้อ T. Pallidum
สามารถติดจากคนสู่คนโดยการสัมผัสโดยตรง
สตรีตั้งครรภ์สามารถผ่านเชื้อนี้ไปให้ทารกที่อยู่ในครรภ์ได้
ปัจจุบันอุบัติการณ์การติดเชื้อซิฟิลิสมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น
อาการและอาการแสดง
Primary stage(Sore)
secondary stage
Latent syphilis
Tertiary syphilis
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
Pregnancy
ทำให้ผิวหนังและเนื้อเยื่ออักเสบ
Preterm labor
Abortion
Fetus & NB
Prematurity
Still birth
Neonatal syphilis
Congenital abnormalities
Fetal hydrops fetalis
Jaundice
เยื่อบุส่วนต่าง ๆ ของร่างกายอักเสบ ผิวหนังที่ฝ่ามือฝ่าเท้าอักเสบและลอกเป็นขุย
Mental retardation
Congenital heart disease
แนวทางการรักษา
ารรักษาเป็นแนวทางเดียวกับสตรีที่ติดเชื้อซิฟิลิสขณะไม่ตั้งครรภ์ ยึดหลักการรักษาให้หายครบถ้วน และต้องให้สามีมาตรวจและรักษาพร้อมกัน
ให้ Penicillin G รักษาซิฟิลิสในสตรีตั้งครรภ์ และป้องกันการติดเชื้อของทารก
การรักษาในระยะ primary, secondary และ early latent syphilis
การรักษาในระยะ late latent syphilis
หนองใน (GONORRHEA)
พยาธิสรีรภาพ
Neiseriagonorrhea เข้าสู่ร่างกาย เข้าไปเกาะติดกับเซลล์เยื่อบุและเซลล์ขับเมือก
พยายามผ่านเนื้อเยื่อเกี่ยวพันเข้าไปเพิ่มจำนวนเซลล์ในชั้น subepithelial tissue
จากนั้นเชื้อจะทำปฏิกิริยากับภูมิต้านทานของร่างกาย เกิดสารเคมีที่เป็นพิษต่อเซลล์และเนื้อเยื่อ
ทำให้เนื้อเยื่ออักเสบเป็นหนอง
ตำแหน่งที่มักพบการอักเสบ =เยื่อเมือกบริเวณปากมดลูก ทวารหนัก ท่อปัสสาวะ
เชื้อสู่เชิงกรานจะไปทำลายถุงน้ำคร่ำ
PROM
preterm labor
chorioamnionitis
endometritis
PID
peritonitis
hepatitis
septicemia
GONORRHEA
เชื้อ Neiseriagonorrheaeหรือ gonococcus (GC)
สตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อหนองในสามารถแพร่เชื้อไปยังทารกได้โดยผ่านทางแผลถลอก
ลักษณะคล้ายเม็ดถั่ว เชื้อเข้าสู่ร่างกายผ่านทางเยื่อเมือกต่างๆ ของอวัยวะสืบพันธุ์จากการมีSI กับผู้ติดเชื้อ
อาการและอาการแสดง
มีการอักเสบของปากมดลูกและช่องคลอด
ตกขาวเป็นหนองข้นปริมาณมาก
กดเจ็บบริเวณbartholin’sgland
หากติดเชื้อLower UTI : dysuria ปัสสาวะบ่อย ปัสสาวะกระปิดกระปรอย เป็นหนองข้น และhematuria
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
Infertility
Chorionitis, amnionitis, chorioamnionitis
PROM
Abortion
Preterm labor
ผลกระทบต่อทารก
NB with ND ที่มีการติดเชื้อหนองในที่ปากมดลูก ช่องคลอด หรืออวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
แนวทางการรักษา
VDRL
ให้ Ceftriaxone, azithromycin, penicillin oral, IM ระวังการเพิ่มของ bl. level ระหว่างที่ได้รับยาเนื่องจากจะมีผลต่อการทำงานของหัวใจ
NB ทุกรายควรได้รับยาป้ายตา
1%tetracycline ointment
0.5%erythromycin ointment
1%Silver nitrate (AgNO3)
ทารกที่มีการติดเชื้อควรได้รับยาปฏิชีวนะ ceftriaxone
การรักษาในสตรีตั้งครรภ์ควรค านึงว่ามีการติดเชื้อSTDs อื่นร่วมด้วย
การติดเชื้อเริม (HERPES SIMPLEX)
HERPES SIMPLEX
สาเหตุเกิดจากเชื้อไวรัสคือ Herpes simplex virus (HSV)
แบ่งเป็น HSV–1และ HSV–2
ชื้อเข้าสู่ร่างกายจะแฝงตัวอยู่ที่ปมประสาทรับความรู้สึก
เชื้อเข้าสู่ทารกผ่านทางเยื่อบุหรือผิวหนังโดยการกอดจูบหรือสัมผัสทารก
พยาธิสรีรภาพ
ภายหลังจากเชื้อเข้าสู่ร่างกายจะทำให้ผิวหนังเป็นตุ่มน้ำใส เล็ก ๆ จำนวนมาก
เมื่อตุ่มน้ำแตก หนังกำพร้าจะหลุดพร้อมกับทำให้เกิดแผลตื้น
ทำให้รู้สึกปวดแสบปวดร้อนที่แผล
ขณะเดียวกันเชื้อก็จะเดินทางไปแฝงตัวที่ปมประสาท
กระตุ้นให้เกิดการอักเสบเมื่อภูมิคุ้มกันของร่างกายต่ำ
อาการและอาการแสดง
อาการของการติดเชื้อปฐมภูมิมักเกิด 3-7วันหลังการสัมผัสเชื้อ
มีอาการปวดแสบปวดร้อน และคันบริเวณที่สัมผัสโรค
จากนั้นจะกลายเป็นตุ่มน้ำใสๆ แล้วแตกกลายเป็นแผลอยู่ 2สัปดาห์ ก่อนจะตกสะเก็ด
บางรายอาจมีอาการคล้ายหวัด
ผู้ที่เคยติดเชื้อ HSV มักจะเกิดการติดเชื้อซ้ำเมื่อภูมิคุ้มกันของร่างกายต่ำ
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก์
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
Abortion
Preterm labor
การติดเชื้อซ้ำขณะตั้งครรภ์มีผลกระทบค่อนข้างน้อย
ผลกระทบต่อทารก
IUGR
Preterm labor
หากติดเชื้อในขณะตั้งครรภ์
Still birth
หากให้คลอดทางช่องคลอดทารกอาจติดเชื้อขณะคลอดได้
แนวทางการรักษา
การรักษาแบบประคับประคองตามอาการ
ให้ Acyclovir 200 mg oral. วันละ 5 ครั้ง 5-7 วัน
การรักษาในระยะคลอด
กรณีที่เคยติดเชื้อเริมมาก่อน แต่ขณะคลอดตรวจไม่พบรอยโรคหรือไม่มีอาการของการติดเชื้อ ให้คลอดND และเฝ้าระวังทารก เพื่อดูอาการของการติดเชื้อเริม
กรณีที่พบรอยโรคขณะคลอดไม่ว่าจะเป็นการติดเชื้อครั้งแรก หรือติดเชื้อซ ้า ให้คลอดC/S และเฝ้าระวังทารกเพื่อดูอาการของการติดเชื้อเริม
หูดหงอนไก่(CONDYLOMA ACUMINATE)
CONDYLOMA ACUMINATE
เกิดจากการติดเชื้อ human papilloma virus (HPV)
ระยะฟักตัวนาน 2-3 เดือน
ติดต่อจากการสัมผัสรอยโรคโดยเฉพาะทางเพศสัมพันธ์
อาการและอาการแสดง
มีรอยโรคเป็นติ่งเนื้อสีชมพูคล้ายหงอนไก่ ขนาดแตกต่างกัน มักเกิดบริเวณอับชื้นปากช่องคลอด หรือในช่องคลอด
การติดเชื้อขณะตั้งครรภ์รอยโรคจะขยายใหญ่ มีผิวขรุขระคล้ายดอกกะหล่ำและยุ่ยมาก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
หากเกิดรอยโรคใหญ่อาจขัดขวางช่องทางคลอด
ตกเลือดหลังคลอด
ารดาหลังคลอดมีโอกาสเกิดCA Cx.
ผลต่อทารก
ทารกอาจติดเชื้อหูดหงอนไก่ระหว่างตั้งครรภ์และขณะคลอด
อาจเกิด laryngeal papillomatosis
Voice change
Abnormal cry
การพยาบาลระยะตั้งครรภ์
คัดกรองและประเมินภาวะสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์
แนะนำให้นำสามีมารับการตรวจเพื่อวินิจฉัยโรค และหากมีการติดเชื้อแนะนำให้รักษาพร้อมกัน และติดตามการรักษาอย่างต่อเนื่อง
อธิบายให้เข้าใจถึงการดำเนินของโรค อันตรายของโรคต่อการตั้งครรภ์ แผนการรักษาพยาบาล
แนะนำการปฏิบัติตัวของสตรีตั้งครรภ์และสามี
รับประทานยา ฉีดยา หรือทายาตามแผนการรักษา
หลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ หรือใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้ง
หลีกเลี่ยงการสัมผัสแผลและหนอง
กรณีมีแผลที่อวัยวะสืบพันธุ์แนะน าให้ท าความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ทุกครั้ง
แนะน าเกี่ยวกับความส าคัญของการมาตรวจตามนัด การสังเกตอาการผิดปกติ
ติดตามผลการตรวจ LAB และผลการรักษาของสตรีตั้งครรภ์และสามีอย่างสม ่าเสมอ
การพยาบาลระยะคลอด
ยึดหลัก universal precaution ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
หลีกเลี่ยงการท าหัตถการทางช่องคลอด
ดูแลให้ผู้คลอดและทารกได้รับยาตามแผนการรักษาเพื่อป้องกันการติดเชื้อ
ผู้คลอดที่มีการติดเชื้อหนองใน ทารกแรกเกิดต้องเพื่อป้องกันภาวะ opthalmianeonatarum
การพยาบาลระยะหลังคลอด
ยึดหลัก universal precaution
แนะน ามารดาหลังคลอดเกี่ยวกับการดูแลรักษาความสะอาดร่างกาย เครื่องใช้ส่วนตัว
ระเมินอาการติดเชื้อของทารกแรกเกิด
แนะน าการเลี้ยงบุตร โดยล้างมือให้สะอาดก่อนจับทารกทุกครั้ง หากไม่มีแผลบริเวณหัวนมหรือเต้านมสามารถให้BF
ดูแลให้มารดาหลังคลอดและทารกได้รับยาป้องกันการติดเชื้อตามแผนการรักษา
นะน าและดูแลมารดาหลังคลอดNDหรือหลังC/S
การติดเชื้อเอชไอวีในสตรีตั้งครรภ์(HUMAN IMMUNODEFICIENCY VIRUS [HIV] DURING PREGNANCY)
การแพร่เชื้อจากมารดาสู่ทารก
Pregnancy
ไวรัสผ่านทางรกทางเซลล์ trophoblast และ macrophages
เข้าสู่ระบบไหลเวียนเลือดของทารกในครรภ์
ท าให้ทารกในครรภ์ติดเชื้อ HIV
อัตราการติดเชื้อระยะตั้งครรภ์ร้อยละ 35
Peripartum
เกิดขึ้นขณะคลอดหรือใกล้คลอดร้อยละ 65
ระหว่างคลอดทารกจะสัมผัสกับเลือดของมารดา น ้าคร ่า และสารคัดหลั่งในช่องคลอดของมารดา
ท าให้ทารกมีโอกาสที่จะติดเชื้อ HIV ได้สูงในระยะคลอด
Postpartum
ทารกจะติดเชื้อได้จากการสัมผัสกับสารคัดหลั่งของมารดา
ส่วนใหญ่ติดเชื้อจากน ้านมมารดา
อัตราการติดเชื้อในทารกที่ได้รับนมมารดาประมาณร้อยละ 7-12
พยาธิสรีรภาพ
หลังการติดเชื้อ HIV เข้าสู่ร่างกาย เชื้อ HIV จะใช้ GP120 ที่ผิวของเชื้อ HIV จับกับ CD4 receptor ของ WBC
จากนั้นใช้ enzyme reverse transcriptase สร้าง viral DNA แทรกเข้าไปในนิวเคลียสของRBC แล้วเพิ่มจ านวนWBC ที่มีเชื้อไวรัส HIV
ท าให้ร่างกายมีWBC ที่ติดเชื้อ HIV จ านวนมาก
เซลล์WBC ที่ติดเชื้อ HIV จะแตกสลายง่าย ท าให้WBC ในร่างกายลดลงอย่างรวดเร็ว
ท าให้ภูมิคุ้มกันของร่างกายบกพร่อง เกิดภาวะ seroconversion :มีไข้ เจ็บคอ ปวดเมื่อยร่างกาย ต่อมน ้าเหลืองโต
มื่อWBC มากแสดงถึงภาวะที่ร่างกายมีความเสี่ยงในการติดเชื้อฉวยโอกาสมากขึ้น
การติดเชื้อที่พบบ่อยซึ่งเป็นสาเหตุการตายที่ส าคัญ : PneumocysticCarinii Pneumonia (PCP), TB
อาการและอาการแสดง
ระยะเริ่มแรกของการติดเชื้อ HIV
ติดเชื้อ HIV จนกระทั่งร่างกายเริ่มสร้าง antibody
เริ่มมีไข้ เจ็บคอ ปวดเมื่อยตามตัว มีผื่นขึ้น ต่อมน ้าเหลืองโต
บางรายอาจมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน ถ่ายเหลว หรือมีฝ้าขาวในช่องปาก
อาการเหล่านี้จะเป็นอยู่ 1-2wk. แล้วหายไปได้เอง
บางรายอาจไม่มีอาการและอาการแสดงใด
ระยะติดเชื้อโดยไม่มีอาการ
ระยะนี้ร่างกายจะแข็งแรงเป็นปกติเหมือนคนทั่วไป
หากตรวจเลือดจะพบเชื้อ HIV และ antibody ต่อเชื้อ HIV
สามารถแพร่เชื้อให้ผู้อื่นได้
ระยะติดเชื้อโดยไม่มีอาการจะนาน 5-10 ปี
ระยะติดเชื้อที่มีอาการ
อาจพบอาการอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปนี้
Temp. > 37.80C เป็นพักๆ หรือติดต่อกันทุกวัน
ท้องเดินเรื้อรัง หรืออุจจาระร่วงเรื้อรัง
น ้าหนักลดเกิน 10% ของน ้าหนักตัว
ต่อมน ้าเหลืองโตมากกว่า 1 แห่ง
เป็นงูสวัด
พบเชื้อราในปากหรือฝ้าขาว (hairy leukoplakia) ในช่องปาก
ระยะป่วยเป็นเอดส์
ไข้ผอมต่อมน้าเหลืองโตหลายแห่งซีดอาจพบลิ้นหรือช่องปากเป็นฝ้าขาวจากเชื้อราแผลเริมเรื้อรังผิวหนังเป็นแผลพุพอง
ระยะนี้ระบบภูมิคุ้มกันจะเสื่อมเต็มที่
ติดเชื้อโรคฉวยโอกาส: TB, pneumoniaปอดอักเสบสมองอักเสบเยื่อหุ้มสมองอักเสบGI infectionเป็นมะเร็ง เช่น Kaposi’s sarcoma, lymphoma
อาจมีความผิดปกติของสมอง (HIV encephalopathy) ท าให้มีความจ าไม่ดี หลงลืมง่าย ไม่มีสมาธิ พฤติกรรมแย่ลง แขนขาชา อัมพาต ชักกระตุก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
CD4 ต่า
มีโอกาสเกิดโรคแทรกซ้อนจากการติดเชื้อฉวยโอกาสได้ง่ายขึ้
ผลกระทบต่อทารก
IUGR
Preterm labor
SGA
LBW
Still birth
การพยาบาลระยะตั้งครรภ์
คัดกรองสตรีตั้งครรภ์และสามีที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อ
ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการด าเนินของโรค ความแตกต่างระหว่างการติดเชื้อ HIV กับการเป็นเอดส์
แนะน าให้มาฝากครรภ์ตามนัดทุกครั้ง เพื่อประเมินสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์และทารกในครรภ์
ให้ความรู้เกี่ยวกับหลักมาตรฐานในการควบคุมและป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
ติดตามผลLAB
ประเมินภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยาต้านไวรัส
แนะน าการปฏิบัติตัวของสตรีตั้งครรภ์
ประเมินระดับความวิตกกังวล ความกลัวของสตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อ HIV และเปิดโอกาสให้สตรีตั้งครรภ์และครอบครัวได้ระบายความรู้สึก หรือความไม่สบายใจ
ให้การพยาบาลด้วยท่าทีที่ปราศจากความรังเกียจ ให้ก าลังใจ และช่วยเหลือให้สตรีตั้งครรภ์และครอบครัว
การพยาบาลระยะคลอด
ยึดหลัก universal precaution
ให้การดูแลเช่นเดียวกับผู้คลอดทั่วไป : V/S, FHS อย่างใกล้ชิด ติดตามความก้าวหน้ายองการคลอด
หากviral load ≤ 50 copies/mL
ท าคลอดด้วยวิธีที่ท าให้เกิดการบาดเจ็บต่อผู้คลอดและทารกน้อยที่สุด และหลีกเลี่ยงการใช้สูติศาสตร์หัตถการที่เพิ่มความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บ
ดูแลให้ผู้คลอดและทารกได้รับยาต้านไวรัสตามแผนการรักษา ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากมารดาไปสู่ทารก
เตรียมอุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ในการช่วยเหลือทารกแรกเกิด และรายงานกุมารแพทย์เพื่อเตรียมช่วยเหลือทารกที่มีภาวะแทรกซ้อน
ประเมินอาการเปลี่ยนแปลงและภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ : PPH, postpartum infection, anemia, hematological disease, WBCต ่า
การพยาบาลระยะหลังคลอด