Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การติดเชื้อระบบขับถ่ายปัสสาวะระหว่างตั้งครรภ์, นางสาวพรพิมล อุตมติง…
การติดเชื้อระบบขับถ่ายปัสสาวะระหว่างตั้งครรภ์
การเปลี่ยนแปลงของระบบทางเดินปัสสาวะในขณะตั้งครรภ์
การเปลี่ยนแปลงทางกายวิภาค
เปลี่ยนแปลงทางหน้าที่ของไต
แนวทางการป้องกันและรักษา
การรักษา
ติดเชื้อแบบ ASB
รับยาปฏิชีวนะ
ampicillin, cephalexin, amoxicillin และ nitrofurantoin
ติดเชื้อที่กระเพาะปัสสาวะ
รักษาโดยให้ยาปฏิชีวนะที่มีความไวต่อเชื้อและปลอดภัย
กรวยไตอักเสบเฉียบพลัน
รับไว้ในโรงพยาบาลเพื่อให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ
ให้ยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดดำ
การป้องกัน
ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ทุกครั้งหลังขับถ่าย
ดื่มน้ำอย่างน้อยวันละ 8-10 แก้ว
คัดกรองการติดเชื้อตั้งแต่ต้น ในสตรีที่มาฝาก ครรภ์ครั้งแรกทุกราย
ชนิดของการติดเชื้อ
ติดเชื้อเฉียบพลันที่กรวยไต
โรคไตรั่ว หรือโปรตีนรั่วในปัสสาวะ
ติดเชื้อเฉียบพลันที่กระเพาะปัสสาวะ
ภาวะไตวาย
ติดเชื้อทางเดินปัสสาวะไม่แสดงอาการ
พยาธิสรีรวิทยา
เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียบริเวณปากช่องคลอด ย้อนกลับขึ้นไป (ascending infection) ร่วมกับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างและการทำงานของ ระบบทางเดินปัสสาวะขณะตั้งครรภ์
อาการและอาการแสดง
ติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง
ปัสสาวะเป็นเลือดหรือสีน้ำล้างเนื้อ
ปวดบริเวณหัวหน่าว
ปัสสาวะบ่อย กระปิดกระปรอย กลั้นปัสสาวะไม่ได้
ติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะส่วนบน
เจ็บบริเวณชายโครง
ปวดหลังบริเวณตำแหน่งของไต
ปัสสาวะเป็นสีขุ่น หรือสีน้ำล้างเนื้อ
มีไข้ หนาวสั่น
คลื่นไส้ อาเจียน
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
เกิดจาก
การติดเชื้อ Escherichia Coli (E. Coli) ที่อยู่รอบท่อปัสสาวะ
ปัจจัยเสริม
การเพิ่มขึ้นของฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนขณะตั้งครรภ์
การที่มดลูกมีการขยายขนาดใหญ่ขึ้นและกดเบียดกระเพาะปัสสาวะ
ผลกระทบ
สตรีตั้งครรภ์
แท้ง การเจ็บครรภ์คลอด ก่อนกำหนด และถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
รายที่มีการติดเชื้อในกระแสเลือดอาจเกิด septic shock
ทารก
ทารกคลอดก่อนกำหนด ทารกน้ำหนักตัวน้อย ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ และทารกตายคลอด
การประเมินและวินิจฉัย
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
urine analysis จะพบไข่ขาว เเละพบเชื้อแบคทีเรียมากกว่า 105 dfu/ml
ตรวจร่างกาย
ปัสสาวะขุ่น หรือพบปัสสาวะเป็นสีน้ำล้างเนื้อ มีไข้ ปวดบริเวณท้องน้อย เหนือหัวหน่าว หากกดบริเวณ costovertebral angle จะปวดมาก
ซักประวัติ
เกี่ยวกับการติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะ หรือการติดเชื้อของระบบสืบพันธุ์
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
2.มาตรวจครรภ์ตามนัดอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ
3.แนะนำการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์เพื่อป้องกันการติดเชื้อ หรือป้องกันการกลับเป็นซ้ำ
1.ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการดำเนินของโรค ภาวะแทรกซ้อน และแผนการรักษาพยาบาล
4.กรณีที่มีการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะและได้รับการรักษา ติดตามการเปลี่ยนแปลงของโรค รวมทั้งสังเกตอาการผิดปกติ
ระยะหลังคลอด
1.ป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ และการป้องกันการกลับเป็นซ้ำ
2.ให้คำแนะนำเช่นเดียวกับคำแนะนำเพื่อป้องกันการติดเชื้อในขณะตั้งครรภ์ โดยเน้นการคุมกำเนิด
ระยะคลอด
ให้การพยาบาลเช่นเดียวกับผู้คลอดทั่วไป และเน้นเรื่องการทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกทุก ครั้งหลังการขับถ่าย
นางสาวพรพิมล อุตมติง 6101210712 SecB เลขที่ 33