Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การรักษาพยาบาลเบื้องต้นในภาวะฉุกเฉิน - Coggle Diagram
การรักษาพยาบาลเบื้องต้นในภาวะฉุกเฉิน
ระบบปฏิบัติการทางการแพทย์ฉุกเฉิน Emergency Medical Service System: EMS
การตรวจฉุกเฉิน
CBC , electrolyte ถือเป็นประเภทเดียวกัน นับเป็น 1 อย่าง
CXR, CBC คนละประเภท ถือเป็น 2 อย่า ง
CXR, consult แพทย์เฉพาะทาง นับเป็น 2 อยา่ ง
Plain KUB, CT-abdomen, UA, CBC คนละประเภท นับเป็น 3 อย่า ง
ผู้ที่คาดว่าจะได้รับการ admit ถือเป็น 1 กิจกรรม
ผู้ป่วยที่มาโดยการ refer ถือเป็น 1 กิจกรรรม
4 จุดในการจําแนกผู้ป่วยตาม ESI algorithm
B : ผู้ป่วยคนไหนที่ไม่สามารถรอได้
C : ผู้ป่วยต้องใช้ทรัพยากรหรือกิจกรรมกี่อยา่ ง
A : ผู้ป่วยมีภาวะคุกคามแก่ชีวิต ที่จําเป็นต้องได้รับการ
ช่วยชีวิตอย่างเร่งด่วนหรือไม
D : สัญญาณชีพผู้ป่วยอยู่ในกลุ่มเสี่ยงหรือไม่
การจําแนกผู้ป่วยฉุกเฉิน ตามแนวทางการคัดแยกของ Emergency Severity Index (ESI) Version 4
KESI 2 ผู้ป่วยเจ็บป่วยรุนแรง (Emergent: สีชมพู) ต้องตรวจใน 5-10
นาที
KESI 3 ผู้ป่วยเจ็บป่วยปานกลาง (Urgent: สีเหลือง) ต้องตรวจใน 15-
30 นาที
KESI 1 ผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต (Resuscitation: สีแดง)
ต้องให้การช่วยเหลือทันที
KESI 4 ผู้ป่วยเจ็บป่วยเล็กน้อย (Less-urgent: สีเขียว) รอตรวจในเวลา
30-60 นาที
KESI 5 ผู้ป่วยไม่ฉุกเฉิน (Non-urgent: สีขาว) รอตรวจรักษาในเวลา 1-
2 ชั่วโมง
การจําแนกผู้ป่วยฉุกเฉินตามสาเหตุ
Non-trauma ผู้ป่วยฉุกเฉินจากสาเหตุอื่น ๆ เช่น อายุรกรรม ศัลยกรรม สูตินรีเวช ฉุกเฉินทางตา หูคอ จมูก และฉุกเฉินทางจิตเวช
Trauma คือ ผู้ป่วยฉุกเฉินที่เกิดจากอุบัติเหตุและการทําร้ายร่างกาย
การพยาบาลเบื้องต้นที่พบบ่อยทางศัลยกรรม
การตกเลือดและการห้ามเลือด
การช่วยเหลือเบื้องต้น
ถ้ามีอาการเป็นลม หรือช็อกรักษาอาการเป็นลมและช็อก
ถ้ามีวัสดุชิ้นใหญ่ๆปักคาอยู่อย่าดึงออก
ใช้ผ้าสะอาดปิดแผล และพันให้แน่น
การห้ามเลือด
1.ใช้มือที่สะอาด/ ผ้าที่สะอาดกดลงบาดแผลโดยตรง
2.ใช้วิธิกดบนหลอดเลือดแดงใหญ่ที่มาเลี้ยงบริเวณแผล
บาดแผล
การช่วยเหลือและการรักษาเบื้องต้น
แผลถลอก ล้างทําความสะอาด ซับให้แห้ง ใส่ยาฆ่าเชื้อ
แผลที่โดนตัดขาด เช่นนิ้วมือ ทำความสะอาด ห้ามเลือดเก็บชนิดส่วนที่ขาดใส่ถุงพลาสติกแล้วแช่น้ำแข็ง Refer
แผลฟกช้ำประคบเย็นทันที หลัง 24 ชม
แผลฉีกขาดทำความสะอาดห้ามเลือด
แผลไหม้ประคบเย็นทําความสะอาดแผล การจัดการความปวดระวังช็อก
แผลถูกยิงนอนนิ่ง NPO เปิดเส้นเลือด ให้ i.v. fluid ก่อนพิจารณา refer
ข้อเคล็ด ข้อเคลื่อน และกระดูกหัก
อาการ อาการแสดง
เมื่อมีการเคลื่อนไหวจะปวดมากขึ้น เคลื่อนไหวไม่ได้หรือได้บางส่วน
ถ้าเป็นข้อเคลื่อน ข้อนั้นจะมีรูปร่างผิดไปจากเดิม
เจ็บปวดบรเิวณข้อนั้นๆ บวม แดง ร้อน
การพยาบาลเบื้องต้น
ให้ข้อนั้นอยู่นิ่งๆ โดยอาจใช้ผ้าพยุงหรือดามไว้
จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าที่สบายไม่ควรดึงให้เข้าที่เองเพราะอาจจะทําให้ได้รับอันตรายมากขึ้น
บาดเจ็บที่ศีรษะ (Head injury)
บาดเจ็บที่ศีรษะระยะแรก
กะโหลกศีรษะ ( skull ) : กะโหลกแตกร้าวเป็นแนว กะโหลกแตกร้าวแต่ไม่มีหนังศีรษะฉีกขาด ไม่ต้องรักษาหายเองใน 2 - 3 เดือน แต่ต้องสังเกตอาการ กะโหลกแตก ยุบ
หนังศีรษะ ( scalp:บวม ช้ำหรือโน ถลอก ( abrasion ) ฉีกขาดหนังศีรษะขาดหาย
บาดเจ็บที่ศีรษะระยะที่ 2
Hematoma
IICP( ความดันในกะโหลกศีรษะสูง)
Brain edema
ประเมิน Glasgo Coma Score
การออกเสียง (Best verbal response) 5 ระดับ
การเคลื่อนไหว (Best motor response) 6 ระดับ
การลืมตา (Eye opening) 4 ระดับ
ภาวะฉุกเฉินทางอายุรกรรม
สัตวกัด แมลงกัดต่อย และสารพิษ
งูพิษกัด
ตรวจรอยเขี้ยว หรือฟันงู
รัดเหนือบาดแผล 2 เปลาะ คลายทุก 15 นาที
เคลื่อนไหวให้น้อยที่สุด
ทำความสะอาดแผลรีบนำส่ง รพ.
แมงกัดต่อย
รีบเอาเหล็กในออก
ประคบเย็นบรรเทาปวด
ทาบรเิวณที่ถูกกัดด้วยแอมโมเนียหรือครีมสเตียรอยด์
สัตว์กัด
บาดแผลเล็ก ทำแผล ใส่ยา ปิดแผล
ให้ยาแก้ปวด
ล้างทำความสะอาดบาดแผล
สารพิษและการได้รับสารพิษ
การดูแลเบื้องต้น(Early management)
การทําให้อาเจียน
การล้างท้อง
การใช้ผงถ่าน
การใช้ยาระบาย
การช่วยชีวิตเบื้องต้น(Basic life support)
Breathing
Circulation
Airway
Decontamination
เป็นลม (Syncope/Fainting)
ีภาวะระบบหายใจและระบบการไหลเวียนโลหิต ไม่ทํางาน
ต้องช่วยฟื้นคืนชีพ
ถอดเเละคลายเสื้อผ้าให้หลวม
นอนราบยกปลายเท้าสูง
พาเข้าร่มอากาศถ่ายเท
ประเมินความรูสึกตัว
ชัก (Seizure)
การช่วยเหลือและการรักษาเบื้องต้น
ประเมินความรู้สึกตัว
ให้ออกซิเจน
นอนตะแคงด้านใดด้านหนึ่ง
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ถ้าชักจากไข้ ให้เช็ดตัวและให้ยาลดไข้
้
ขณะชักให้ Diazepam (Valium) 10 มก.
สาเหตุ
รอยโรคของสมองโดยตรง เช่น สมองได้รับกระทบกระเทือน
ความผิดปกติทางชีวเคมี เช่น น้ำตาลในเลือดต่ำ สมองขาดออกซิเจน
ไม่ทราบสาเหตุ
หมายถึง อาการที่มีการเปลี่ยนพฤติกรรมที่เกิดขึ้นชั่วขณะเนื่องจากมีความผิดปกติในสมอง
ช็อค (Shock)
สาเหตุของภาวะช็อค
ภาวะที่เกิดจาก low cellular oxygen
ภาวะที่เกิดจาก low perfusion pressure
อาการ
หนาว กระหายน้ำ อ่อนเพลีย
คลื่นไส้อาเจียน
กระสับกระส่าย ซีด
ชีพจรเบาเร็ว ความดันโลหิตตก
หายใจเร็วขึ้นน ไม่สม่ำเสมอ
มือเท้าเย็น เหงื่อออก ปัสสาวะน้อย
หมดสติถ้าไม่ได้รับการช่วยเหลืออาจเสียชีวิต
คือสภาวะที่มีการไหลเวียนของเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายไม่เพียงพอ (inadequate tissue perfusion)
ทําให้การนําสารต่างๆที่จําเป็นต่อการดํารงชีวิตของ cell
การพยาบาลเบื้องต้น
ให้ผู้ป่วยนอนราบและยกปลายเท้าสูงกว่าลําตัว 10-20 นิ้ว
ให้ออกซิเจนและให้ความอบอุ่น
ประเมินความรู้สึกกตัว CABs ตรวจวัดสัญญาณชีพ
ให้สารน้ำทดแทนทางหลอดเลือดดํา ให้งดน้ำและอาหารทางปาก
ใส่สายสวนปัสสาวะค้างไว้เพื่อดูปริมาณปัสสาวะ
หาสาเหตุของอาการช็อกและแก้ไข
ประเภทการช็อค
Endocrinic shock
Anaphylactic shck
Neurogenic shock
Cardiogenic shock
Septic shock
Hypovolemic shock
หมดสติ
การพยาบาลเบื้องต้น
จัดท่านอนตะแคงกึ่งคว่ำ
งดน้ำและอาหารทางปาก
ให้ออกซิเจน และสารน้ำตามข้อบ่งชี้
คลายเสื้อผ้า และสิ่งรัดตัวให้หลวม
ประเมินหาสาเหตุของการหมดสติ
ส่งต่อสถานพยาบาลที่มีความพร้อม
การช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน (Basic life support: BLS)
ขั้นตอนที่ 1 การตรวจระดับการรู้สติ(Level of consciousness)
อันดับแรกให้เข้าไปเขย่าตัว พร้อมทั้งปลุกเรียกเพื่อประเมินการรู้สติเพราะถ้ารู้สติก็ต้องหายใจและหัวใจก็ยังเต้นอยู่ ให้ทำขั้นตอนต่อไป
ถ้าทําการปลุกเรียกแล้วไม่มีการตอบสนอง ให้เริ่มขั้นตอนที่ 2 ทันที
ขั้นตอนที่ 2. คลําชีพจร (check pulse)
ใช้เวลาไม่น้อยกว่า 5วินาทีแต่ไม่นานเกิน 10วินาทีให้คลำหาชีพจรที่คอ(carotid pulse) โดยใช้นิ้วชี้และนิ้วกลางวางบนลูกกระเดือก(thyroid cartilage)แล้วเลื่อนนิ้วลงมาตามแนวหลอดลมลงไปถึงร่องงด้านข้างที่อยู่ระหว่างหลอดลมกับกล้ามเนื้อคอ
ขั้นตอนที่ 3. การกดหน้าอก (Chest compression)
A= Airway head tilt-chin lift ไม่ควรใช้กับผู้ป่วยที่สงสัยว่ามีการบาดเจ็บของกระดูกต้นคอ
C= circulation วางมือกึ่งกลางกระดูก sternum ระหว่างหัวนมกดหน้าอกลึกไม่น้อยกว่า 2 นิ้ว (5 ซม)
และไม่เกิน 2.4 นิ้ว (6 ซม) อัตราการกด 100-120 ครั้ง/นาที
B= Breathing
D=Defibrillation