Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 ความเป็นครู การจัดการความรู้, บทที่ 6 ความเป็นครู…
บทที่ 6 ความเป็นครู
การจัดการความรู้
ความหมายของการจัดการความรู้
วิจารณ์ พานิช
การจัดการความรู้เป็นการรวบรวม จัดระบบ จัดเก็บ เข้าถึงข้อมูลเพื่อแบ่งปัน ตีความ ประยุกต์ใช้ และประเมินความรู้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กร
บุญส่ง หาญพานิช
เป็นกระบวนการที่ยกระดับความรู้ให้ทรงคุณค่าแก่ทรัพยากรความรู้ และจัดการทรัพยากรความรู้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่องค์กร
บดินทร์ วิจารณ์
เป็นการยกระดับความรู้ในองค์กร โดยมีจุดมุ่งหมายในการสร้างทุนแก่ทรัพย์สินทางปัญญา องค์ความรู้ในการแก้ปัญหา การวางแผนกลยุทธ์และการตัดสินใจ รวมไปถึงการจัดการเกี่ยวกับฐานความรู้ของทรัพยากรบุคคลในองค์กร
Trapp
เป็นกระบวนการที่ประกอบด้วยงานต่างๆจำนวนมาก ซึ่งมีการจบริหารจัดหารในลักษณะบูรณาการเพื่อก่อให้เกิดคุณประโยชน์ที่คาดหวัง
กรรณิการ์ ธรรมสิทธิ์
การรวบรวมความรู้สู่การปฏิบัติ (Tacit Knowledge)
การจัดการความรู้ที่มีกิจกรรมที่ซับซ้อนและกว้างขวาง
1) การจัดการความรู้เริ่มจากการรวบรวมข้อมูลดิบ (Data)
2) การจัดการความรู้มีขั้นตอนในการแลกเปลี่ยนและแบ่งปันความรู้
3) การจัดการความรู้ต้องการผู้มีความรู้ความสามารถในการตีความและประยุกต์ใช้ความรู้
4) การจัดการความรู้เป็นเรื่องของการเพิ่มประสิทธิผลขององค์กร
การจัดการความรู้ เป็นกระบวนการจัดการอย่างเป็นระบบเกี่ยวกับการประมวลข้อมูลสารสนเทศ ความคิด การกระทำ ประสบการณ์ของบุคคล และความรู้จากเอกสารตำรา เพื่อกำหนดหรือสร้างเป็นความรู้ และดำเนินการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การจัดเก็บความรู้ การนำความรู้ที่มีอยู่มาใช้ในการปฏิบัติงาน อันทำให้เกิดการแบ่งปัน แลกเปลี่ยนเผยแพร่ ถ่ายโอนความรู้ และการประเมินผลความรู้ในองค์กร เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการพัฒนาผลผลิตขององค์กรให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลตามต้องการ
ความสำคัญของการจัดการความรู้
ทำให้องค์กรมีความเข้มแข็ง สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
เป็นสิ่งจำเป็นขององค์กรเป็นการส่งผ่านความรู้สู่กัน โดยใช้การจัดการความรู้เป็นวิธีการสำคัญอย่างหนึ่งที่ทำให้เกิดการบริหารคุณภาพในองค์กร และทำให้เป้าหมายขององค์กรทั้งหลายที่ต้องการจะสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้เป็นจริง
หลักการจัดการความรู้
ผู้ทำงานมีหลักการที่สำคัญ
การให้บุคลากรหลากหลายทักษะและความคิดทำงานร่วมกัน
การให้บุคลากรร่วมกันพัฒนาวิธีการทำงานใหม่ๆ
การให้บุคคลได้ทดลองและเรียนรู้
การให้บุคลากรนำความรู้ภายนอกมาให้พัฒนางานอย่างเหมาะสม
วิธีการจัดการความรู้
วิธีการจัดการความรู้ในองค์กรได้เสนอกิจกรรมไว้คือ การสร้างวิสัยทัศน์เกี่ยวกับความรู้
การสร้างทีมการ
จัดการความรู้ในองค์กร
1) ผู้ปฏิบัติจัดการความรู้ (Knowledge practitioner)
2) ผู้เชี่ยวชาญความรู้
3) วิศกรความรู้
การสร้างทีมงานการจัดการความรู้
สร้างบรรยากาศของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างเข้มข้นในกลุ่มพนักงาน
การจัดการความรู้กับการพัฒนาสินค้าหรือรูปแบบการทำงานใหม่ๆ
การจัดการองค์กรแบบใช้พนักงานระดับกลางเป็นพลังขับเคลื่อน
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างขององค์กรไปเป็นแบบหลายบริบทในเวลาเดียวกัน
สร้างเครือข่ายความรู้กับโลกภายนอก
เครือข่ายการจัดการความรู้
เครือข่ายการจัดการความรู้ ทำหน้าที่คล้ายกับท่อส่งความคิดใหม่ๆ โดยอาจจะนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้เพื่อประสานงานกับผู้ที่มีความรู้ และผู้ที่ต้องการความรู้ เป็นการส่งผ่านความรู้ให้แผ่กระจายออกไปในวงกว้าง เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ และสร้างความรู้ใหม่ที่เหมาะสมกับบริบทสภาพแวดล้อมและสถานการณ์
รูปแบบของเครือข่าย
1) เครือข่ายที่ไม่เป็นทางการ
2) เครือข่ายที่เป็นทางการ
องค์ประกอบของเครือข่าย
1) เป้าหมายและวัตถุประสงค์
2) รูปแบบการสื่อสาร
3) ผู้นำ
4) เทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการ
1) องค์กรต้องเห็นความสำคัญของเครือข่าย
2) องค์กรต้องสร้างกิจกรรมการจัดการความรู้
3) พัฒนาและสร้างกิจกรรมการจัดการความรู้
การจัดการความรู้แบบต่อเนื่อง
"วงจรของข้อมูล-สารสนเทศ-ความรู้"
เป็นองค์ประกอบที่สำคัญของการจัดการความรู้อย่างต่อเนื่อง
ข้อมูล (Data)
ตัวเลขหรือตัวอักษรที่ยังไม่ได่จัดระบบเป็นการขยายฐานของข้อเท็จจริงหรือการวัดเชิงปริมาณเกี่ยวกับสิ่งที่สามารถวัดได้ในสถานศึกษา
สารสนเทศ (Information)
ข้อมูลที่ถูกนำมาจัดกระทำให้เป็นระบบโดยผ่านการตีความ แปลความ และจัดทำรายงานผล ทำเป็นเอกสารสารสนเทศ
ความรู้ (Knowledge)
ความเข้าใจที่พัฒนาขึ้นจากข้อมูลและสารสนเทศ เพื่อให้ครูหรือผู้บริหารสามารถมีปฏิกิริยาโต้ตอบและใช้ความรู้ที่มีคุณค่าให้เป็นประโยชน์ นำไปแลกเปลี่ยนกับคนอื่นๆได้
การจัดการความรู้อย่างต่อเนื่องส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ของการทำงานจาการจัดการความรู้สำเร็จในระดับดีมากขึ้น เกิดการพัฒนาการเรียนรู้ เกิดความมั่นใจในตนเอง เกิดเป็นชุมชนในผู้ร่วมงานและกลายเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ คือ ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน
โมเดลปลาทู-การจัดการความรู้เบื้องต้น
หัวปลา : การจัดการความรู้ด้วยวิสัยทัศน์ (Knowledge Vision : KV)
ตัวปลา : การแลกเปลี่ยนเรียนรู้หรือการแบ่งปันความรู้ (Knowledge Sharing : KS)
หางปลา : ขุมความรู้ (Knowledge Asset : KA)
บุคคลสำคัญของการจัดการความรู้
คุณเอื้อ : เป็นผู้บริหารระดับสูง
คุณอำนวย : เป็นผู้ที่คอยสร้างบรรยากาศให้เกิดการรวมตัวกัน
คุณกิจ : เป็นผู้ดำเนินกิจกรรมการจัดการความรู้
คุณลิขิต : เผ็นผู้จดบันทึกในกิจกรรมการจัดการความรู้
คุณวิศาสตร์ : เป็นผู้ที่ออกแบบและจัดดำเนินการระบบไอที
กระบวนการจัดการความรู้
การสรรสร้าง
การจัดเก็บ
การเคลื่อนย้ายถ่ายโอน
การประยุกต์ใช้ความรู้
การจัดการความรู้ในสถานศึกษา
บทบาทการจัดการความรู้ของครู
การจัดการความรู้ของตนเอง
การจัดการความรู้ในชั้นเรียน
การจัดการความรู้ของสถานศึกษา
การจัดการความรู้ในชุมชน
ขั้นตอนการจัดการความรู้
การวิเคราะห์
การจัดหาความรู้
การเก็บรักษาความรู้
การนำไปใช้
การจัดการความรู้ในสถานศึกษา
การดึงความรู้ออกมาจาก "ครูต้นแบบ" และระจายความรู้ให้แก่ครูคนอื่น
จัดให้มีการประชุมแลกเปลี่ยนประสบการณ์การจัดการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน/คุณภาพการศึกษา
จัดกระบวนการกลุ่มให้ครูผู้สอนในวิชาเดียวกันได้ระดมสมองแก้ปัญหาการเรียนการสอน
ค้นหาและส่งเสริมครูที่ม่ความสามารถพิเศษ สร้างขวัญและกำลังใจในการทำงาน
พัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม และกิจกรรมเพื่อพัฒนาครู
ส่งเสริมยกย่องให้รางวัลแก่ครูที่มีการจัดการความรู้
จัดหาสิ่งอำนวยความสะดวกในการค้นคว้าความรู้และประยุกต์ใช้ความรู้
การแลกเปลี่ยนความรู้ที่ฝังอยู่ในตัวคนโดยใช้วิธีการผู้ฝึกสอน
การแลกเปลี่ยนความรู้ที่ฝังอยู่ในตัวคน โดยนำความรู้ออกมานำเสนอ
บทที่ 6 ความเป็นครู-การจัดการความรู้
นางธนิดา วงศ์สัมพันธ์ 6220160339