Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทและยาออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนปลาย - Coggle Diagram
ยาออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทและยาออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนปลาย
ยารักษาโรคจิต (Antipsychotic Drugs)
การออกฤทธิ์ของยาจิตเวช
Adrenergic Receptors (Ad.)
การปิดกั้น alpha-1 -adrenergic receptors
(-) ความดันโลหิตลดลง, มึนศีรษะ, ง่วงนอน และ reflex tachycardia
การปิดกั้น alpha-2 -adrenergic receptors
(+) ลดอาการซึมเศร้า
(-) priapism (อวัยวะเพศชายแข็งตัวตลอดเวลา ท าให้มีอาการเจ็บปวด)
-) ปิดกั้นการออกฤทธิ์ของยาลดความดันโลหิต เช่น Clonidine hydrochloride, guanabenzacetate, methyldopa
Cholinergic Receptors
การปิดกั้น muscarinic M1 receptors
(+) ลดอาการ extrapyramidal side effects
(-) central antimuscarinic effects : ความจ าและประชาน(cognition) เสื่อม
(-) peripheral antimuscarinic effects : ตาพร่า, การก าเริบของโรคต้อหินชนิดมุมปิด (narrowangle glaucoma), ปากแห้ง, หัวใจเต้นเร็ว, ท้องผูก และ ปัสสาวะคั่ง
การออกฤทธิ์ของยาจิตเวช
Dopaminergic Receptors (D)
การปิดกั้น dopamine D2 receptors
(+) ลดอาการโรคจิตชนิดบวก (positive psychotic symptoms) เช่น การหลงผิด, ประสาทหลอนหูแว่ว (ผ่าน mesolimbic pathway)
(-) extrapyramidal side effects : dystonia, parkinsonism, akathisia และ tardive
dyskinesia (ผ่าน nigrostriatal pathway)
-) ผลต่อระบบต่อมไร้ท่อ : การเพิ่มขึ้นของ prolactin ท าให้เกิดอาการน้ านมไหล, เต้านมโตประจ าเดือนมาไม่สม่ าเสมอ และการเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ (ผ่าน tuburoinfundibularpathway)
Histaminergic Receptors
(+) ง่วงนอน (sedation)
(-) ง่วงนอน, น้ าหนักเพิ่ม และเสริมฤทธิ์ยากดประสาทส่วนกลาง (central nervous system
depressants)
การปิดกั้น histaminergic H1 Receptors cypoheptadine
การปิดกั้น histaminergic H2 Receptors
(+) ลดการหลั่งกรดในกระเพาะอาหาร
Serotonergic Receptors (HT)
การปิดกั้นตัว serotonin 5-HT2A receptors
(+) ลดอาการโรคจิตชนิดลบ (negative psychotic symptoms) เช่น อารมณ์ทื่อ (blunted affect), การ
แยกตัวจากสังคม
(+) ลดอาการ extrapyramidal side effects
(-) ง่วงนอน และอ่อนเปลี้ย (asthenia)
การกระตุ้น serotonin 5-HT1A receptors
(+) ลดอาการซึมเศร้า
(+) ลดอาการย้ าคิด (obsession) และย้ าท า (compulsion)
(+) ลดอาการตื่นตระหนก (panic) และการกลัวสังคม (social phobia)
(+) ลดอาการหิวไม่หาย (bulimia)
การกระตุ้น serotonin 5-HT1D receptors
(+) ลดอาการไมเกรน (antimigraine actions) การกระตุ้น serotonin 5-HT2 receptors
(-) ภาวะกายใจไม่สงบ (agitation), รู้สึกไม่สบายที่กล้ามเนื้อ (akathisia), วิตกกังวล, อาการตื่นตระหนัก(panic attacks), นอนไม่หลับ และการเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ
การกระตุ้น serotonin 5-HT3 receptors
(-) คลื่นไส้, ท้องไส้ปั่นป่วน (gastrointestinal distress), ท้องเดิน และปวดศีรษะ
กลุ่มยารักษาโรคจิต (Antipsychotic drugs)
Mesolimbic pathway
เกี่ยวข้องกับการรักษาอาการด้านบวก (positive symptoms) เช่น
auditory hallucination (หูแว่ว) delusion (หลงผิด) aggressiveness (ก้าวร้าว)
Mesocortical pathway
เกี่ยวข้องกับการรักษาอาการด้านลบ (negative symptoms) เช่น
alogia (พูดน้อย) affective blunting (เฉยเมย,ไม่เข้าสังคม) avolition (ขาดความกระตือรือร้น) anhedonia (เซ็งไม่อยากท าอะไร) apathy
(ไม่ตอบสนองทางอารมณ์ตามสมควร) socialWithdrawal (ไม่สบตา)
และอาการด้าน cognitive ลดลง (ที่ Hippocampus ความจ าระยะสั้น)
Nigrostriatal pathway
เกี่ยวกับการเกิดการข้างเคียง extrapyramidal (extrapyramidal side effects : EPS)
Tuberoinfundibular pathway
ยารักษาโรคจิตทำให้prolactin หลั่งมาก
เกิด galactorrhea และ gynecomastia
การจำแนกกลุ่ม
1.Typical Antipsychotic Drugs
Atypical Antipsychotic Drugs
1.Typical Antipsychotic Drugs
กลุ่มดั้งเดิม (Typicalหรือ Conventional Antipsychotic
Drug) เป็น Dopamine antagonist (DA) ช่วยควบคุมอาการทางจิตโดยการปิดกั้นการส่งกลับของ dopaminereceptor ที่ basalganglia,hypothalamus,limbic system,brain stem,medulla ทำให้อาการทางบวกของโรคจิตเภทดีขึ้น
การแบ่งยาต้านโรคจิต ตามpotency
ยากลุ่ม Potency สูง ได้แก่ Haloperidol ,Trifluopererazine
,fluphenazine bromperidol ยากลุ่มนี้ทำให้เกิด EPS ได้มาก ในขณะที่อาการ anticholinergic อาการง่วง และ posturalhypotension ต่ำพบได้น้อย
ยากลุ่มPotency ต่ำ ได้แก่ Chlorpromazine Thioridazine ยากลุ่มนี้
ทำให้เกิด EPS ได้น้อย ในขณะที่อาการ anticholinergic อาการง่วงและ postural hypotension ได้มาก
atypical antipsychotics
Clozapine, Risperidone, Olanzapine, Quetiapine,
Sertindole, Ziprazidone, Zotepine
MOA : ออกฤทธิ์ปิดกั้นที่ Dopamine 2 receptor และยังสามารถยับยั้ง
ที่ Serotonin receptor, Alpha receptor, Muscarinic receptor
ใช้รักษาอาการโรคจิตทางบวกระยะเฉียบพลันและป้องกันการก าเริบซ้ า
อาการข้างเคียงได้แก่ ง่วงนอน น้ าหนักเพิ่ม คลื่นไส้ อาเจียน ปวดมึนศีรษะเม็ดเลือดขาวต่่ำ
ผลข้างเคียงและการรักษา
ผลจากการเป็น dopamine blocker
ง่วงนอน
alpha-1 adrenergic blocker ลุกขึ้นหน้ามืด ความดันโลหิตลดต่ำ
anticholinergic agent (muscarinic type) น้ำลายน้อย ปากคอแห้ง ตาพร่า ท้องอืด ท้องผูก ปัสสาวะลำบาก
ผลข้างเคียงอื่นๆ Cardiotoxicity, Weight gain, Eretile dysfunction
Extrapyramidal side effects (EPS)
1.1 Acute dystonic reaction มักเกิดขึ้นระหว่าง 1-5 ชั่วโมงหลังเริ่ม
รักษาด้วยยาต้านโรคจิตเวช อาการที่พบได้บ่อยมี 3 แบบ คือ
1.Torticollis : คอเอียง เพราะกล้ามเนื้อคอหดเกร็ง
2.Opisthotonus : อาการเกร็งหลังแอ่น
3.Oculogyric crisis : กลอกตาไปมา
1.2 Akathisia
มักเกิดภายใน 5 ถึง 40 วัน หลังจากเริ่มใช้ยารักษาอาการทาง
จิตเวช
ผู้ป่วยจะรู้สึกกระวนกระวาย ตื่นเต้น อยู่ไม่สุข เดินไปเดินมา
ผุดลุกผุดนั่ง ขาอยู่ไม่สุข (restless legs) นั่งอยู่เฉยกับที่ไม่ได้
(drive to move about)
ถ้าหากพบผู้ป่วยมีอาการคล้ายความวิตกกังวลที่เกิดร่วมกับยา
ต้านโรคจิตเวช ควรพิจารณาถึงการเกิด akathisia ด้วย
1.3 Parkinsonian like syndrome
มือสั่นขณะพัก (resting tremor)
กล้ามเนื้อเกร็ง (muscle rigidity)
ท่าเดินแบบซอยเท้า (shuffling gait)
การเคลื่อนไหวช้า (bradykinesia)
สีหน้าไร้อารมณ์ (expressionless or marked face)
สั่นแบบปั่นยา (pill-rolling movement)
น้ำลายไหล (drooling)
1.4 Tardive dyskinesia
เป็นกลุ่มของการเคลื่อนไหวโดยไม่ได้ตั้งใจ (involuntary movement) เกิดจากการรักษาด้วยยาต้านโรคจิตเวชเป็นระยะเวลานาน
ลักษณะส าคัญของ tardive dyskinesia คือ การเคลื่อนไหวสามแห่งของ
แก้ม-หน้า-ลิ้น (a triad of check-face –tongue movement)
แก้มพอง เคี้ยว สูดปาก เลีย ดูดริมฝีปาก แลบลิ้น ขากรรไกรเคลื่อนไหว
ด้านข้าง อาจเกิดการกระพริบตา หน้าตาบูดบึ้ง ขมวดคิ้ว เปลือกตากระตุก
ยาคลายกังวล (Antianxiety Drugs)
Benzodiazepine (BZD) แบ่งเป็น
High therapeutic potency: alprazolam, lorazepam,
triazolam และ clonazepam (มีขนาดยามิลลิกรัมต่ำๆ)
Low therapeutic potency: diazepam, prazepam,
clorazepate, และ temazepam (มีขนาดยามิลลิกรัมสูงๆ)
กลไกการออกฤทธิ์
Benzodiazepine (BZD) ออกฤทธิ์โดยจับตัวกับ GABA receptor ในสมอง เป็นGABA -benzodiazepine receptor complex ทำให้ chloride ion channel การเปิดตัวรับ chloride เข้าเซลล์ประสาทอยู่ในภาวะ hyperpolarizationดังนั้น benzodiazepine
จึงมีคุณสมบัติยับยั้งสารสื่อประสาท ผลในทางคลินิกของมีbenzodiazepine เป็นจากยาไปออกฤทธิ์ที่ receptor บริเวณต่างๆ
มีผลลดอาการวิตกกังวล ต้านอาการชักคลายกล้ามเนื้อ
ข้อบ่งชี้ในการใช้ยา
กลุ่มโรควิตกกังวล (anxiety disorders)
depressive disorder
Alcohol withdrawal syndrome และ alcohol withdrawal delirium
ภาวะนอนไม่หลับ
ใช้เป็นยาคลายกล้ามเนื้อ
ใช้รักษาอาการชัก
ผลข้างเคียง
การกดประสาทส่วนกลาง ง่วงซึม อ่อนแรง เดินเซ nystagmus และ
dysarthria
อาการหลงลืม anterograde amnesia
Disinbibition ได้แก่ กล้าแสดงออกในสิ่งซึ่งตามปกติแล้วผู้ป่วยไม่กล้าทำดังที่พบในผู้ดื่มสุรา
Paradoxical excitement มีพฤติกรรมวุ่นวาย อาละวาด ก้าวร้าว ทำร้าย
ตนเอง หรือผู้อื่นได
กลุ่มยารักษาอาการเศร้า
(Antidepressant drugs)
การแบ่งกลุ่ม ยาแก้ซึมเศร้าแบ่งตามกลไกการออกฤทธิ์ออกเป็น 4 กลุ่มใหญ่ ดังนี้
กลุ่ม tricyclic มีโครงสร้างหลัก เป็น tricyclic ring ยากลุ่มนี้ เช่น imipramine,amitriptyline, nortriptyline, clomipramine และ doxepin
Monoamine oxidase inhibitor ที่มีใช้ในประเทศไทยเป็นชนิด ReversibleInhibitors of MAO subtype A (RIMA) คือ moclobemide
ยากลุ่ม selective serotonin reuptake inbibitors (SSRI) มีด้วยกันทั้งหมด 5 ชนิด ได้แก่ fluoxetine, fluvoxamine, paroxetine, citalopram ออกฤทธิ์โดยการยับยั้ง reuptake เฉพาะระบบ serotoninและ
กลุ่ม new generation ได้แก่ mianserin, trazodone, tianeptine,bupropion และล่าสุดได้แก่ venlafaxine และ mirtazapine
กลไกการออกฤทธิ์
การออกฤทธิ์ของยาต้านเศร้าในปัจจุบันมุ่งไปที่การแก้ไขสมดุลของสารเคมีในสมอง(neurotransmitters) ที่ควบคุม ก ากับดูแลสมดุลของอารมณ์ แรงจูงใจ ความอยากอาหารคือ serotonin, dopamine และ norepinephrine โดยทั่วไปแล้วยาต้านเศร้าจะแบ่งเป็น
2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ
กลุ่มที่ออกฤทธิ์ต่อสารสื่อประสาทหลายชนิด ออกฤทธิ์ต่อการเก็บกลับ serotonin และnorepinephrine นอกจากนั้นยายังมีฤทธิ์ต่อสารเคมีอื่นๆ ด้วย เช่น ฤทธิ์ ทำให้เกิดอาการปากแห้ง คอแห้งซึ่งเป็นอาการข้างเคียง เช่น amitriptyline, nortriptyline
กลุ่มที่ออกฤทธิ์จำเพาะต่อสารสื่อประสาทเพียงชนิดเดียว โดยมากจะเน้นหนักไปที่serotonin กลุ่มยาพวกนี้จะมีอาการข้างเคียงค่อนข้างน้อย ก็ไม่ถึงกับไม่มีเลยทีเดียว ในผู้ทีใช้ยาบางรายมีอาการใจสั่น นอนไม่หลับ กระสับกระส่ายเช่น fluoxetine, sertraline
ผลข้างเคียงและการรักษา
Seizure ยา tricyclic ทุกตัวมีผลลด seizure threshold ยากลุ่มใหม่ที่พบ
บ่อยคือ maprotiline ดังนั้น ในการใช้ในผู้ป่วยที่มีประวัติการชักมาก่อนจึงควร
น้ำหนักเพิ่ม พบได้บ่อยโดยเฉพาะจาก amitriptyline ส่วน fluoxetion อาจทำให้น้ำหนักลด
Sexual effect มักพบเป็นแบบ erectile หรือ ejaculatory dysfunction
อาการกระวนกระวาย อยู่ไม่สุข (Akathisia) นอนไม่หลับ ยาต้านอารมณ์
ซึมเศร้ากลุ่ม serotonin reuptake inhibitor โดยเฉพาะ Fluoxetine อาจจะท าให้ผู้ป่วยมีอาการกระวนกระวาย อยู่ไม่สุขหรือนอนไม่หลับได้้
ยาทำให้อารมณ์คงที่
(Mood Stabilizers)
Lithium
ผลข้างเคียง
ทางเดินอาหาร คลื่นไส้ อาเจียน โดยเฉพาะใน 2-3 สัปดาห์แรก
ของการใช้ยา อาจพบอาการถ่ายเหลวได้ประมาณ 6-20%
ระบบประสาทส่วนกลาง Fine tremor (15-53%)
ระบบต่อมไร้ท่อ Hypothyroidism ประมาณ 5-8%
ในผู้ป่วยที่ใช้ยาติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน Weight gain
ข้อห้ำมใช้และข้อควรระวัง
ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่แพ้ lithium
ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่มีภาวะไตวายเฉียบพลัน หรือไตทำงานบกพร่อง
ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่ภาวะหัวใจล้มเหลว
ห้ามใช้ในผู้ป่วยตั้งครรภ์ เนื่องจากจะท าให้เกิด cardiac malformation
ในเด็กได
ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่มีภาวะร่างกายขาดน้า
ระวังการใช้ในผู้ป่วยโรค thyroid
Drug interaction
ระดับยา lithium อาจเพิ่มสูงขึ้นเมื่อใช้กับยา หรือภาวะดังต่อไปน
ACEI : Enalapril, captopril
ARBs : Valsartan
NSAIDs : Ibuprofen, Piroxicam, Diclofenac
Thiazide : HCTZ
Loop diuretic : Furosemide
ภาวะขาดน้ำและสูญเสียน้ า
ยาต้านชัก
Antiepileptic Drugs
ยายับยั้ง Na+
channels
Phenytoin (Dilantin®)
ยับยั้ง Na+
channels ใน neuron cell membrane ซึ่งการเปิดของ Na+
channels มักทำให้เกิดลักษณะของ rapid discharge ในโรคลมชัก ดังนั้น Phenytoin มีผลป้องกันการเกิด post-potentiation และยับยั้ง Seizure spread ได้
ปฏิกิริยาระหว่างยาของ Phenytonin กับยาอื่น
ต้องระวังการเกิดปฏิกิริยากับยาอื่นอย่างมาก เนื่องจากเป็นยาที่ดูดซึมได้ช้าจากทางเดินอาหาร มีprotein binding สูง
เป็นเอนไซม์inducer
มีtherapeutic window แคบ ในช่วง 10-20 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร เท่านั้น
เนื่องจากยา Phenytoin เป็นยาที่มีprotein bidding สูง 90-95% ดังนั้น จึงอาจถูกไล่ที่ด้วยยาที่มีprotein bidding สูงเช่นกัน เช่น warfarin, aspirin, valproic acid ทำให้ระดับPhenytoin ในรูปอิสระสูงขึ้นจนอาจเกิดความเป็นพิษได
Carbamazepine (Tegretol)
กลไกและผล ท าให้NA channels ปิดในระยะ inactivation state นานขึ้น ทำให้กดการเกิด depolarization ของเซลล์ประสาทในการส่งกระแสประสาท
ผลข้างเคียง
กดการทำงานของไขกระดูก
พิษต่อตับ ทำให้เอนไซม์ในตับสูงขึ้น
เพิ่มการเก็บน้ำมากขึ้น แต่ทำให้โซเดียมในเลือด
ทำให้เห็นภาพซ้อน เดินโซเซ
3.Topiramate (Topamax®)
กลไกและผล มีหลายกลไกดังนี้
ยับยั้ง NA channe
กระตุ้น GABA A receptor
ปิดกั้น AMPA receptor ท าให้ลดการท างานของ glutamate
ผลข้างเคียง
ตับอักเสบ ตับอ่อนอักเสบ ผมร่วง คลื่นไส้ อาเจียน เพิ่มความอยากอาหาร น้ำหนักตัวเพิ่ม
เดินโซเซ
พิษต่อทารกในครรภ์
4.Valproate (Depakine®)
กลไกและผล มีหลายกลไกดังนี้
ในระยะ inactivation state นานขึ้น ทำให้กดการ
เกิด depolarization ของเซลล์ประสาทในการส่งกระแสประสาท
ยับยั้งการทำลาย GABA โดยยับยั้งเอนไซม์ GABA-T
ผลข้างเคียง
N/V เวียนศีรษะ เดินเซ ง่วงนอนมาก
Agents used in musculoskeletal disorder
กลไกการออกฤทธิ์:
ออกฤทธิ์ยับยั้งรีเฟล็กซ์ของไขสันหลังที่ควบคุมการเคลื่อนไว โดยมีโครงสร้างคล้าย GABA จึงเสริมฤทธิ์ของ GABA ที่เซลล์ประสาทไขสันหลัง ไม่มีผลต่อกล้ามเนื้อลายโดยตรงแต่จะลดการเกร็งแบบหด และขยาย ลดแรงต้านของการเคลื่อนไหว
ผลข้างเคียง
ผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง โดยกดระบบประสาทท าให้ซึม มึนงง
ง่วง อ่อนล้า และอ่อนแรงโดยเฉพาะช่วงแรกของการรักษา ถ้าให้ขนาดสูงๆอาจหมดสติ และกดการหายใจ คลื่นไส้ ท้องผูก ปัสสาวะคั่ง
Dantrolene
กลไกการออกฤทธิ์
ออกฤทธิ์โดยตรงต่อกล้ามเนื้อลายโดยออกฤทธิ์กดการ
หลั่งของแคลเซียมจาก sarcoplasmic reticulum ท าให้กล้ามเนื้อหดตัว
ผลข้างเคียง
พิษต่อตับ กล้ามเนื้ออ่อนแรง ง่วงซึม ท้องเดิน เบื่ออาหาร
คลื่นไส้อาเจียน
ยาระงับ muscle spasm
D-tubocurarine, pancuronium, atracurium, vecuronium
Succinylcholine
กลไก
ปิดกั้น neuromuscular junction แย่งจับกับ nicotinic Nm receptor ของเซลล์กล้ามเนื้อลายท าให้กล้ามเนื้อเกิดอัมพาต (paralysis)
ผลข้างเคียง
Hypotension, bronchospasm