Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การติดเชื้ออื่น ๆ ขณะตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
การติดเชื้ออื่น ๆ ขณะตั้งครรภ์
การติดเชื้อไวรัสรับอักเสบชนิดเอ (hepatitis A virus: HAV)
อาการและอาการแสดง
อ่อนเพลีย
ปวดศีรษะ
ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ปวดข้อ
เบื่ออาหาร
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
การตั้งครรภ์ไม่มีผลทําให้อาการของโรครุนแรงมากขึ้น
การป้องกันและการรักษา
รักษาแบบประคับประคองตามอาการที่ปรากฏ
ทารกที่คลอดจากสตรีตั้งครรภ์ที่มีการติดเชื้อในระยะใกล้คลอดควรได้รับ ISG ขนาด 0.5 mg แก่ทารกทันทีหลังคลอด
การประเมินและการวินิจฉัย
การซักประวัติ เกี่ยวกับการรับประทานอาหาร การขับถ่าย การสัมผัสเชื้อโรค
พบลักษณะอาการทางคลินิกของการติดเชื้อ HAV
ตรวจหา antibody-HAV และ IgM-anti HAV และตรวจการทํางานของตับ
การพยาบาล
อธิบายให้สตรีตั้งครรภ์และครอบครัวเข้าใจเกี่ยวกับโรค
แนะนําเกี่ยวกับการปฏิบัติตัว
รับประทานอาหารที่สุก สะอาด และย่อยง่าย และดื่มน้ําให้เพียงพอ
มาตรวจตามนัด
พักผ่อนอย่างเพียงพอ
หลีกเลี่ยงการใช้ยาที่มีผลต่อตับ
การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบชนิดบี(Hepatitis B virus)
พยาธิสรีรภาพ
ระยะที่สอง
อาการอ่อนเพลียคล้ายเป็นหวัด คลื่นไส้อาเจียน จุกแน่นใต้ชายโครงจากตับโต ปัสสาวะเข้ม ตัวเหลืองตาเหลือง ตับเริ่มมีการอักเสบชัดเจน
ระยะที่สาม
อาการตับอักเสบจะค่อย ๆ ดีขึ้น ร่างกายจะสร้างภูมิคุ้มกัน และเข้าสู่ระยะโรคสงบ
ระยะแรก
เชื้อHepatitis B virus เข้าสู่ร่างกายแต่ไม่มีอาการแสดง ตรวจเลือดจะพบ HBeAg ให้ผลบวก และพบ Hepatitis B virus DNA (viral load) จํานวนมาก
ระยะที่สี่
เชื้อกลับมามีการแบ่งตัวขึ้นมาใหม่ (re-activation phase) ทําให้เกิดการอักเสบของตับขึ้นมาอีก
อาการและอาการแสดง
เริ่มด้วยมีไข้ต่ํา ๆ เบื่ออาหาร อาเจียน ปวดท้อง อาจปวดทั่วไปหรือปวดบริเวณชายโครงขวา คลําพบตับโต กดเจ็บ ปัสสาวะมีสีเข้มขึ้นเป็นสีชาแก่ ในปลายสัปดาห์แรกจะเริ่มมีตาเหลืองตัวเหลือง
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารกในครรภ์
สตรีตั้งครรภ์
ไตรมาสที่ 3 ของการตั้งครรภ์จะเพิ่มความเสี่ยงในการคลอดก่อนกําหนด
ผลต่อทารก
น้ําหนักตัวน้อย
ทารกตายในครรภ์
เสียชีวิตแรกเกิด
ทารกที่คลอดมามีโอกาสที่จะติดเชื้อได้
การประเมินและการวินิจฉัย
การซักประวัติ การเป็นพาหะของโรคตับอักเสบจากไวรัสบี หรือเคยมีอาการแสดงของโรคตับอักเสบจากไวรัสบี เคยสัมผัสใกล้ชิดกับคนที่เป็นโรคตับอักเสบจากไวรัสบี
คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร ตับโต ตัวเหลืองตาเหลือง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
แนวทางการป้องกันและรักษา
คัดกรองสตรีตั้งครรภ์ทุกราย โดยตรวจหา HBsAg เมื่อมาฝากครรภ์ครั้งแรก
กรณีได้รับการวินิจฉัยว่าติดเชื้อ Hepatitis B virus ให้การรักษาดังนี้
ให้พักผ่อนอย่างเพียงพอ งดการออกแรงทํางานหนัก หรือออกกําลังกาย
รับประทานอาหารอ่อนย่อยง่าย หลีกเลี่ยงอาหารที่ไขมันสูง
ในรายที่มีอาการเบื่ออาหารและอาเจียน อาจให้สารน้ําทางหลอดเลือดดํา ให้ยาแก้อาเจียน รักษาประคับประคองตามอาการ
แนะนําให้พาสมาชิกในครอบครัวและสามีมาตรวจเลือด
รักษา ด้วยยา Tenofovir Disoproxil Fumarate (TDF) ขนาด 300 mg
วินิจฉัยว่าติดเชื้อ Hepatitis B virus แต่ค่า HbeAg เป็นลบและเอนไซม์ตับปกติ ไม่จําเป็นต้องรักษา
หลีกเลี่ยงการทําหัตถการที่จะทําให้เกิดความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี
พิจารณาให้คลอดทางช่องคลอ
ทาทรกที่เกิดจากสตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อ Hepatitis B virus ควรได้รับการฉีด Hepatitis B immunoglobulin (HBIG) ให้เร็วที่สุด
มารดาหลังคลอดที่ติดเชื้อ Hepatitis B virusองค์การอนามัยโลก (2016) แนะนําว่าสามารถเลี้ยงบุตรด้วยนมารดาได้ทันที
การพยาบาล
ระยะคลอด
หลีกเลี่ยงการเจาะถุงน้ําคร่ํา และการตรวจทางช่องคลอดเพื่อป้องกันถุงน้ําคร่ําแตกก่อนเข้าสู่ระยะที่ 2 ของการคลอด
ดูดมูก เลือดและสิ่งคัดหลั่งต่างๆออกจากปากและจมูกของทารกให้มากที่สุด หลีกเลี่ยงการทําให้เกิดรอยถลอกหรือบาดแผลบริเวณผิวหนังของทารก
ดูแลเช่นเดียวกับผู้คลอดทั่วไป
ทําความสะอาดทารกทันทีที่คลอด เพื่อลดการสัมผัสกับเชื้อที่อยู่ในเลือดและสารคัดหลั่ง
ดูแลให้ทารกได้รับภูมิคุ้มกันภายหลังคลอด
ให้การดูแลผู้คลอดโดยยึดหลักการป้องกันการแพร่กระจายเชื้ออย่างเคร่งครัด
ระยะหลังคลอด
เน้นการรักษาความสะอาดของร่างกาย การป้องกันการปนเปื้อนของเลือดหรือน้ําคาวปลา การล้างมือให้สะอาดก่อนการดูแลทารก
แนะนําให้นําทารกมารับวัคซีนเพื่อป้องกันไวรัสตับอักเสบบี
ไม่จําเป็นต้องงดให้นมมารดาแก่ทารก
ระยะตั้งครรภ์
แนะนําให้พักผ่อนอย่างเพียงพอ
รับประทานอาหารที่มีไขมันต่ํา ย่อยง่าย ให้พลังงานสูง ในรายที่มีอาการเบื่ออาหารและอาเจียน ดูแลให้ได้รับยาแก้อาเจียนตามแผนการรักษา
แนะนําแก่สตรีตั้งครรภ์เกี่ยวกับสาเหตุ การติดต่อ การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ การดําเนินของโรค
อธิบายแก่สตรีตั้งครรภ์เข้าใจและตระหนักถึงความสําคัญของการมาตรวจตามนัด
ในรายที่มีการติดเชื้อเรื้อรัง แนะนําการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ การป้องกันการติดเชื้อซ้ําซ้อน
หัดเยอรมัน (Rubella/German measles)
พยาธิสรีรภาพ
กลุ่มไม่มีอาการทางคลินิก
จะกลายเป็นพาหะของโรคต่อไป
กลุ่มที่มีอาการทางคลินิก
มีผื่นที่ใบหน้า ลามไปที่ลําตัวและแขนขา ลักษณะของผื่นจะเป็นตุ่ม เกิดได้ตั้งแต่วันที่ 7-10 หลังได้รับเชื้อ และจะคงอยู่ 4 สัปดาห์
อาการและอาการแสดง
มีไข้ต่ํา ๆ ครั่นเนื้อครั่นตัว เบื่ออาหาร ตาแดง ไอ เจ็บคอ และต่อน้ําเหลืองบริเวณหลังหูโต อาจมีอาการปวดข้อ โดยไข้จะเป็นอยู่ 1-2 วันก็จะหายไปมีผื่นขึ้นเป็นตุ่มเล็ก ๆ สีแดง (maculopapular) มองเห็นเป็นปื้นหรือจุดกระจัดกระจายโดยจะเริ่มขึ้นที่ใบหน้าจากนั้นจะแผ่กระจายลงมาตามหน้าอก ลําตัว แขนขา จนทั่วร่างกายอย่างรวดเร็ว อาการจะเกิดขัดเจนในวันที่ 7-10 และจะคงอยู่ 4 สัปดาห์ จากนั้นผื่นจะจางหายไป
การประเมินและการวินิจฉัย
การซักประวัติการสัมผัสผู้ติดเชื้อหัดเยอรมัน หรือผู้ที่เป็นพาหะของเชื้อ อาการและอาการแสดงของการติดเชื้อ
การตรวจร่างกายอาจพบผื่นสีแดงคล้ายหัด ตาแดง ไอ จาม เจ็บคอ ปวดเมื่อย ครั่นเนื้อครั่นตัว ต่อมน้ําเหลืองโต
ตรวจ Hemagglutination inhibition test (HAI) เพื่อหา titer ของ antibody ของเชื้อหัดเยอรมัน
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
สตรีตั้งครรภ์
ไม่เกิดผลกระทบต่อมารดา แต่อาจรู้สึกไม่สุขสบายเล็กน้อยเท่านั้นผลกระทบต่อทารกในครรภ์
ทารกในครรภ์
ความผิดปกติที่เกิดขึ้นชั่วคราว
ตับม้ามโต
ตัวเหลือง
โลหิตจาง
เกล็ดเลือดต่ํา
ปอดบวม
กระดูกบาง
ความผิดปกติถาวร
หูหนวก
หัวใจพิการ
ตาบอด (ต้อกระจก, ต้อหิน)
สมองพิการ
ปัญญาอ่อน
ความผิดปกติที่ไม่พบขณะแรกเกิด
ภาวะเบาหวาน
โรคต่อมไทรอยด์
สูญเสียการได้ยิน
ลิ้นหัวใจผิดปกติ
ความดันโลหิตสูง
สมองอักเสบ
การป้องกันและการรักษา
ให้ภูมิคุ้มกัน
ทารกแรกเกิดที่เกิดจากมารดาที่ติดเชื้อหัดเยอรมัน ภายหลังคลอดต้องเก็บเลือดจากสายสะดือส่งตรวจเพื่อยืนยันการติดเชื้อและตรวจร่างกายอย่างละเอียด
การพยาบาล
ในสตรีที่มาฝากครรภ์ควรตรวจดูว่ามีภูมิคุ้มกันหรือไม่ หากยังไม่มีภูมิคุ้มกันแนะนําให้สตรีตั้งครรภ์หลีกเลี่ยงการเข้าชุมชนในช่วงที่มีการระบาดของเชื้อหัดเยอรมัน
แนะนําให้มาฝากครรภ์อย่างสม่ําเสมอ
ให้วัคซีนเพื่อป้องกันการติดเชื้อเยอรมันแก่สตรีวัยเจริญพันธุ์
ประเมินสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์เกี่ยวกับการได้รับภูมิคุ้มกันโรคหัดเยอรมั
เปิดโอกาสให้สตรีตั้งครรภ์และครอบครัวได้ระบายความรู้สึกและซักถาม
อธิบายข้อมูลเกี่ยวกับการตรวจ การดําเนินของโรค
เตรียมร่างกายและจิตใจของสตรีตั้งครรภ์ให้พร้อมสําหรับการทําแท้งเพื่อการรักษา
รายที่ตัดสินใจดําเนินการตั้งครรภ์ต่อ และคลอดทารกที่มีความพิการ ดูแลด้านจิตใจของมารดาและครอบครัว
สตรีที่ไม่มีภูมิคุ้มกันหรือไม่เคยฉีดวัคซีน ควรได้รับการฉีดวัคซีนเพื่อป้องกันหัดเยอรมันหลังคลอดทุกราย และหลังการให้วัคซีนจะต้องคุมกําเนิดต่อไปอีกอย่างน้อย 3 เดือน
สุกใส (Varicella-zoster virus: VZV)
พยาธิสรีรภาพ
เมื่อรับเชื้อเข้าสู่ร่างกายผ่านทางเยื่อเมือกบุทางเดินหายใจ ซึ่งเชื้อโรคมีระยะฟักตัวนาน 10-20 วัน ในกรณีที่โรคสุกใสเกิดขึ้นตั้งแต่แรกคลอด จะเรียกว่า congenital varicella syndrome ซึ่งเกิดจากการติดเชื้อตั้งแต่อยู่ในครรภ์ โดยมารดาติดเชื้อไวรัสสุกใสขณะตั้งครรภ์ ซึ่งจะมีผลต่อความพิการของทารกในครรภ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการติดเชื้อในช่วง 3 เดือน ของการตั้งครรภ์ ซึ่งส่งผลต่อความพิการของทารกในครรภ์ได้สูง
อาการและอาการแสดง
ไข้ต่ําๆ แล้วค่อยมีผื่นขึ้น ลักษณะของผื่น และตุ่ม มักจะขึ้นตามไรผม หรือหลังก่อน จะเห็นเป็นตุ่มน้ําใสๆ บนฐานสีแดง เหมือนหยาดน้ําค้างบนกลีบกุหลาบค่อยลามไปบริเวณหน้าลําตัว และแผ่นหลัง
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
สตรีตั้งครรภ์
ภาวะปอดอักเสบ หรือปอดบวม ทําให้ระบบ
หายใจล้มเหลว บางรายอาจจะมีอาการทางสมอง ทําให้ซึมลง และมีอาการชัก ทําให้เสียชีวิตได้ทั้งแม่ และทารกในครรภ์
ต่อทารก
การติดเชื้อในครรภ์
การติดเชื้อปริกําเนิด
การประเมินและการวินิจฉัย
การซักประวัติการสัมผัสผู้ติดเชื้อสุกใส
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ:
ตรวจหาแอนติบอดีชนิด IgM
การตรวจหาแอนติบอดีชนิด IgG
การตรวจร่างกายมีไข้มีผื่นตุ่มน้ําใสตามไรผม ตุ่มน้ําใสๆ บนฐานสีแดง เหมือนหยาดน้ําค้างบนกลีบกุหลาบ ลามไปบริเวณหน้าลําตัว และแผ่นหลัง
แนวทางการป้องกันและการรักษา
หลีกเลี่ยงคนที่ป่วยเป็นสุกใส การฉีดวัคซีนป้องกันสุกใส
การรักษาแบบประคับประคอง ตามอาการ
การรักษาแบบเจาะจงโดยการใช้ยาต้านเชื้อไวรัสสุกใสAcyclovir ซึ่งควรจะให้ในระยะเวลา 24-48 ชั่วโมง หลังมีผื่นขึ้น
การพยาบาล
ระยะก่อนตั้งครรภ์
แนะนําให้พักผ่อนอย่างเต็มที่ และรับประทานอาหารที่มีประโยชน์
ป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค
เปิดโอกาสให้สตรีตั้งครรภ์และครอบครัวได้ระบายความรู้สึ
ระยะตั้งครรภ์
ดูแลในระยะคลอดเหมือนผู้คลอดทั่วไป โดยเน้นหลัก Universal precaution
ขณะคลอดควรดูดเมือกออกจากปากและจมูกทารกโดยเร็ว ทําความสะอาดร่างกายทันทีหลังคลอด
ระยะคลอด
กรณีพ้นระยะการติดต่อหรือมารดามีการตกสะเก็ดแล้วสามารถแนะนําเกี่ยวกับการให้นมมารดาได้
แนะนําการรับประทานอาหารโปรตีนและวิตามินซีสูง พักผ่อนเพียงพอ ออกกําลังกายสม่ําเสมอเพื่อให้ร่างกายแข็งแรง และเพิ่มภูมิต้านทานของร่างกาย
ดูแลให้ทารกรับวัคซีน VariZIG แก่ทารกแรกเกิดทันที
ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรค โดยการใช้หลักuniversal precaution
มารดามีอาการให้แยกทารกแรกเกิดจากมารดาในระยะ5วันแรกหลังคลอดเพื่อป้องกันการติดเชื้อจากมารดา
เน้นย้ําให้เห็นความสําคัญของการมาตรวจตามนัด
โรคติดเชื้อไซโทเมกะโรไวรัส (Cytomegalovirus: CMV)
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารกในครรภ์
ต่อสตรีตั้งครรภ์
ห้เสี่ยงต่อการแท้ง
คลอดก่อนกําหนด
รกลอกตัวก่อนกําหนด
มีการติดเชื้อของถุงน้ําคร่ํา
ต่อทารก
เสี่ยงต่อภาวะ IUGR
แท้ง
fetal distress
คลอดก่อนกําหนด
น้ําหนักแรกเกิดน้อย
ทารกเสียชีวิตในครรภ์
ตายคลอด
การประเมินและการการวินิจฉัย
ประวัติการติดเชื้อในอดีต ลักษณะของอาการและอาการแสดงที่เกิดขึ้น
มีไข้ คออักเสบ ต่อมน้ําเหลืองโต ข้ออักเสบและตรวจพบอาการและอาการแสดงของโรค
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การเจาะเลือดส่งตรวจพบ Atypical Lymphocytes และเอ็นไซน์ตับสูงขึ้นพบเชื้อ CMV ในปัสสาวะ และในเม็ดเลือดขาว หรือเจาะเลือด พบว่า IgG เพิ่มขึ้น 4เท่า
Amniocentesis for CMV DNA PCR
Plasma specimen for culture
การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
อาการและอาการแสดง
mononucleosis syndrome
hepatosplenomegaly,
thrombocytopenia,
petechiae,
microcephaly,
chorioretinitis,
hepatitis
sensorineuralhearing loss
แนวทางการป้องกันและการรักษา
การป้องกัน
หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับผู้ที่มีการติดเชื้อ
ควรเข้ารับการให้คําปรึกษาก่อนการมีบุตร
การรักษาสุขอนามัยส่วนบุคคล
การรักษา
การให้ immunoglobulin ของ anti-cytomegaloviral human
การให้ยาต้านไวรัส
การประเมินอาการและอาการแสดงของทารกแรกเกิดที่มีการติดเชื้อ
พยาธิสรีรภาพ
ด้รับเชื้อไวรัสชนิดนี้แล้วตั้งแต่วัยเด็ก โดยไม่มีอาการของโรค นอกจากบางกลุ่มที่อาจเป็นโรค Mononucleosis ซึ่งมีอาการไข้สูงเป็นเวลานาน มีตับอักเสบเล็กน้อย ดังนั้นในกลุ่มประชากรส่วนใหญ่ การติดเชื้อ CMV ไม่ก่อให้เกิดโรคร้ายแรงแต่อย่างใด อย่างไรก็ตาม การติดเชื้อ CMV ก่อให้เกิดอาการโรคที่รุนแรงในกลุ่มเสี่ยงต่างๆ ได้แก่ การติดเชื้อในทารกในครรภ์ คนไข้ที่ได้รับการผ่าตัดเปลื่ยนอวัยวะ(organ transplant recipients) และผู้ติดเชื้อ HIV
การพยาบาล
ระยะคลอด
ดูแลในระยะคลอดเหมือนผู้คลอดทั่วไป โดยเน้นหลัก Universal precaution
ขณะคลอดควรดูดเมือกออกจากปากและจมูกทารกโดยเร็ว ทําความสะอาดร่างกายทันทีหลังคลอด
ระยะหลังคลอด
ดูแลในระยะหลังคลอดเหมือนมารดาทั่วไป โดยเน้นหลัก Universal precaution
งดให้นมมารดา หากมารดาหลังคลอดมีการติดเชื้อ
แนะนําการปฏิบัติตนหลังคลอด
แนะนําให้สังเกตอาการผิดปกติของทารกที่ต้องรีบพามาพบแพทย์
ระยะตั้งครรภ์
คัดกรองสตรีตั้งครรภ์ทุกรายเกี่ยวกับการเจ็บป่วยติดเชื้อ CMV ในอดีต
อธิบายสตรีตั้งครรภ์และครอบครัวทราบเกี่ยวกับโรค
แนะนําและเน้นย้ําให้เห็นความสําคัญของการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
การติดเชื้อโปรโตซัว (Toxoplasmosis)
การประเมินและการวินิจฉัย
ประวัติเกี่ยวกับการสัมผัสสัตว์ที่เป็นโรค
หรือมีอ่อนเพลียเล็กน้อย อาจพบภาวะปอดบวม หัวใจอักเสบ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ:
ตรวจเลือดหา DNA ของเชื้อ
รตรวจเลือดสายสะดือทารกหรือน้ําคร่ํา พบ IgA และ IgM
ตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
แนวทางการป้องกันและการรักษา
หลีกเลี่ยงการรับประทานเนื้อสัตว์ที่ไม่ปรุงสุก ผักผลไม้ที่ไม่ผ่านการล้างไข่ดิบ นมสดที่ไม่ผ่านการพาสเจอร์ไรส์และควรล้างมือให้สะอาดหลังจับต้องเนื้อสัตว์ดิบ
รดูแลสวนหญ้า แนะนําให้สวมถุงมือยาง และล้างมือให้สะอาดทุกครั้ง
ทําความสะอาดอุจจาระแมว สวมถุงมือยาง และล้างมือให้สะอาดทุกครั้ง
ถ้าพบ IgM ในมารดา อนุมานว่ามีการติดเชื้อ และรักษาด้วย spiramycin จะช่วยลดการติดเชื้อในครรภ์ได้
ให้ผู้อื่นเป็นผู้ดูแลแมวแทนในช่วงที่ตั้งครรภ์
การเจาะเลือดสายสะดือทารกเพื่อหาการติดเชื้อ และการตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง เพื่อหาความผิดปกติทางสรีระของทารก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
สตรีตั้งครรภ์
การแท้ง
คลอดก่อนกําเนิด
ถุงน้ําคร่ําและเยื่อหุ้มทารกอักเสบ
ถุงน้ําคร่ําแตกก่อนกําหนด
รกลอกตัวก่อนกําหนด
ทารกในครรภ์
ทารกหัวบาตร microcephaly, chorioretinitis,
ไข้ ชัก
ทารกมักเสียชีวิตหลังคลอด
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรค
เน้นการรักษาอย่างต่อเนื่อง
ติดตามผลการตรวจเลือด
แนะนําเกี่ยวกับการสัมผัสเชื้อ
ระยะคลอด
ระยะคลอดเหมือนผู้คลอดทั่วไป โดยเน้นหลัก Universal precaution
ภายหลังทารกคลอดเช็ดตาด้วย 0.9%NSS เช็ดตาทันทีจากนั้นป้ายตาด้วย 1% tetracycline ointment
ระยะหลังคลอด
เฝ้าระวังการตกเลือดและการติดเชื้อหลังคลอด
แนะนําการปฏิบัติตนหลังคลอด
อาการและอาการแสดง
อ่อนเพลีย ปวดกล้ามเนื้อ แต่อาจมีกลุ่มอาการของ Mononucleosis รายที่รุนแรงจะมีพยาธิที่สมอง Chorioretinitis ปอดบวม กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ รายที่รุนแรงมักพบในผู้ที่มีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง
การติดเชื้อไวรัสซิก้า(Zika)
การประเมินและการวินิจฉัย
ซักประวัติอาการของผู้ป่วย
มีไข้ อ่อนแรง เยื่อบุตาอักเสบ ต่อมน้ําเหลืองโต ตัวเหลือง ซีด บวมปลายมือปลายเท้า เลือดออกตามผิวหนัง มีอาการทางระบบทางเดินหายใจ
การตรวจหาพันธุกรรมของเชื้อด้วยวิธี ReverseTranscriptase Polymerase Chain Reaction (RT-PCR) และการตรวจหาภูมิคุ้มกัน (IgM) ด้วยวิธี ELISA
การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง เพื่อประเมินเส้นรอบศีรษะทารกในครรภ์
แนวทางการป้องกันและการรักษา
การป้องกัน
ระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาระบบเฝ้าระวังทางกีฏวิทยาระบบเฝ้าระวังทารกที่มี
ความพิการแต่กําเนิดและระบบเฝ้าระวังกลุ่มอาการผิดปกติทางระบบประสาทร่วมกับการรณรงค์กําจัดลูกน้ํายุงลาย
การรักษา
การรักษาทําได้ด้วยการพักผ่อนให้เพียงพอ ดื่มน้ํามาก ๆ และรักษาตามอาการ
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
สตรีตั้งครรภ์
มีผื่นขึ้นในระหว่างตั้งครรภ์
พบผื่นหลังคลอด
ปวดข้อ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ กล้ามเนื้อตึงตัว
อาการอ่อนเปลี้ยเพลียแรง
อาการไข้ หนาวสั่นรู้สึกไม่สุขสบาย
ชา อัมพาตครึ่งซีก
ต่อทารก
ทารกในครรภ์เจริญเติบโตช้า
ทารกตายในครรภ์
ความผิดปกติเกี่ยวกับระบบประสาท ตาและการมองเห็น
ตายหลังคลอด
การพยาบาล
ให้คําแนะนําในการป้องกัน
สวมเสื้อผ้าเนื้อหนา สีอ่อน ๆ ที่สามารถคลุมผิวหนังและร่างกายได้มิดชิด
กําจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายโดยการทําความสะอาด
นอนในมุ้ง
ควรหลีกเลี่ยงการเดินทางไปยังประเทศที่มีการระบาดของโรค
ควรมีเพศสัมพันธ์อย่างปลอดภัย
ใช้ยากําจัดแมลงหรือยาทาป้องกันยุงกัด
หากอาการที่สงสัยว่าอาจเป็นโรคนี้ ควรรีบปรึกษาแพทย์
ป้องกันไม่ให้ตนเองถูกยุงกัด โดยเฉพาะในระยะ 7 วันแรกที่มีอาการ
การติดเชื้อในระยะตั้งครรภ์ ควรให้การพยาบาลดังนี้
เตรียมสตรีตั้งครรภ์เพื่อส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์
ประเมินสัญญาณชีพโดยเฉพาะอุณหภูมิ
เน้นย้ําการมาตรวจครรภ์ตามนัด
อธิบายเกี่ยวกับการดําเนินของโรค
การดูแลในระยะคลอดให้การดูแลเหมือนผู้คลอดทั่วไป ทั้งนี้ให้ยึดหลัก universal precaution
ตรวจร่างกายทารกแรกเกิด ประเมินสภาพร่างกายทั่วไปโดยเฉพาะการวัดขนาดของศีรษะ
การดูแลมารดาหลังคลอดให้การดูแลเหมือนมารดาทั่วไป
อาการและอาการแสดง
ไข้ ผื่นแดง ปวดเมื่อยตามตัว ปวดข้อ ปวดกล้ามเนื้อ เยื่อบุตาอักเสบ ตาแดง ซึ่งขึ้นอยู่กับสภาพร่างกายของแต่ละคน
โรคโควิด-19 กับการตั้งครรภ์ (COVID-19 during Pregnancy)
อาการและอาการแสดง
อุณหภูมิร่างกายตั้งแต่37.5 องศาเซลเซียสขึ้นไป
บมีอาการของระบบทางเดินหายใจอย่างใดอย่างหนึ่ง
แนวทางการรักษา
การดูแลรักษา
สตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อแต่อาการไม่รุนแรง
ให้ยาต้านไวรัส พิจารณาตามแนวทางของกรมควบคุมโรค
สตรีตั้งครรภ์ที่มีอาการรุนแรง
ไม่ให้ออกซิเจนทาง face mask หรือ face mask with bag เนื่องจากจะเกิดการแพร่กระจายของละอองฝอยได้ควรให้เป็นcannula แทน
On EFMถ้าอายุครรภ์ 28 สัปดาห์ขึ้นไป
หากอาการแย่ลงเช่น หายใจเหนื่อยหอบมากขึ้นเจ็บหน้าอก หรือมีhypoxiaเป็นต้น ควรคิดถึงภาวะpulmonary embolism
ห้ยาต้านไวรัสและ/หรือยาอื่น ๆเช่นLopinavir/Ritonavir, remdesivir (nucleotide analog), chloroquine (antimalarial drug), favipiravirเป็นต้น ตามแนวทางของกรมควบคุมโรค
ยุติการตั้งครรภ์ตามขอ้บ่งชี้ด้านสูติศาสตร์หรือกรณีที่จะเป็นประโยชน์ต่อการกู้ชีพมารดา
สตรีตั้งครรภ์ที่สงสัยจะติดเชื้อโรคโควิด-19
ห้ามใช้ยากลุ่ม NSAIDs
หากเป็นไปได้ให้เลื่อนการนัดผ่าตัดคลอดหรือการกระตุ้นคลอดออกไปอย่างน้อย 14วันหรือจนกว่าผลตรวจเชื้อไวรัสเป็นลบ
การดูแลรักษากรณีฉุกเฉิน
หากไม่สามารถซักประวัติได้ ให้ทําการรักษาเช่นเดียวกับผู้ป่วยที่เข้าข่ายการสืบสวนโรค และบุคลากรใส่ชุด full PPE
การดูแลขณะเจ็บครรภ์คลอด
1 On EFMถ้าอายุครรภ์ 28 สัปดาห์ขึ้นไป
2 ตรวจคลื่นเสียงความถี่สูง ตามความจําเป็น
3 วิธีคลอดพิจารณาตามความเหมาะสมและนโยบายของแต่ละโรงพยาบาลใช้ก๊าซสูดดมเพื่อระงับความปวดควรใช้ด้วยความระมัดระวังอาจมีการแพร่กระจายเชื้อได้
4 การตัดสินใจผ่าตัดคลอดควรพิจารณาให้เร็วและลดเกณฑ์ลง
5 ทําการผ่าตัดในห้องแยกความดันลบ (ถ้ามี)
6 การระงับความรู้สึกหลีกเลี่ยง general anesthesia
กรณีเจ็บครรภ์คลอดก่อนกําหนด
การให้ corticosteroids สําหรับกระตุ้นปอดทารกในครรภ์
การยับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก
ให้ magnesium sulfate สําหรับ neuroprotection ได้
ไม่แนะนําให้ยับยั้งการหดรัดตัวของมดลูกเพื่อรอให้ยา corticosteroidsครบ dose
ทารกที่แทง้หรือเสียชีวิต รกและน้ําคร่ําให้ส่งตรวจหาเชื้อไวรัสแล้วกําจัดแบบตัวอย่างงติดเชื้อ
การดูแลทารกแรกเกิด
การตัดสินใจใจร่วมกันระหว่างมารดากับทีมแพทย์ผู้ดูแล
การดูแลมารดาหลังคลอด
หลีกเลี่ยงการเข้าไปสัมผัสผู้ป่วยใกล้ชิด ใช้การประเมินผ่านทาง videocall แทน หากจําเป็นต้องเข้าไป ให้ใส่ชุด full PPE
การดูแลด้านจิตใจ
ประเมินความเครียดและอาการซึมเศร้า
สถานที่และบุคลากร
ใส่ชุด PPEการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยในรพ.และไปกับรถพยาบาล บุคลากรต้องใส่ fullPPE
การประเมินและการวินิจฉัย
การซักประวัติประวัติเกี่ยวกับการสัมผัสผู้ที่การติดเชื้อ ระยะเวลาและประวัติการเดินทางไปในพื้นที่เสี่ยงและมีการแพร่ระบาดรวมถึงประวัติอาการและอาการแสดงของโรค
มีไข้สูงมากกว่า 37.5 องศาเซลเซียส อ่อนเพลีย ปวดกล้ามเนื้อ ไอแห้ง หายใจติดขัด อาจมีคัดจมูก มีน้ามูกเจ็บคอไอเป็นเลือด หรือท้องเสีย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจเลือดจะพบเม็ดเลือดขาวต่ํำ
ตรวจหา viralnucleic acid ด้วยวิธี real-time polymerase chainreaction(RT-PCR)จากสารคัดหลั่ง
การส่งเพาะเชื้อแบคทีเรียจากเลือด
ให้ส่งสิ่งคัดหลั่งตรวจหาเชื้อไวรัสอื่น
การตรวจพิเศษได้แก่ การตรวจเอกซเรย์ปอดหรือเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ช่องอกพบมีปอดอักเสบ
การพยาบาล
ผลกระทบต่อการสตรีตั้งครรภ์และทารก
ต่อสตรีตั้งครรภ์
ภูมิต้านของร่างกายขณะตั้งครรภ์ลดต่ําลง
ติดเชื้อของเยื่อหุ้มเด็ก ถุงน้ําคร่ําแตกก่อนกําหนด รกเสื่อม และรกลอกตัวก่อนกําหนด
ต่อทารกในครรภ์
พัฒนาการล่าช้า คลอดน้ําหนักตัวน้อย คลอดก่อนกําหนด