Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวโน้มความมั่นคงโลกหลัง COVID-19 - Coggle Diagram
แนวโน้มความมั่นคงโลกหลัง COVID-19
มิติด้านภูมิรัฐศาสตร์และระบบความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
การกลับมาของกระแสชาตินิยม (The Rise of Nationalism)
ยกระดับมาตรการควบคุมชายแดน
พึ่งพารัฐบาลของตนมากกว่าองค์การระหว่างประเทศ
ความไม่มั่นคงของห่วงโซ่อุปทานโลก
กลับมาเน้นกิจการภายในประเทศ
มองข้ามประเด็นปัญหาระดับภูมิภาค (Regional) และระดับโลก (Global Problems)
การเมืองระหว่างประเทศร้อนแรงขึ้น
แข่งขันทางภูมิรัฐศาสตร์แทน
ความล้มเหลวของสหภาพยุโรป
ไม่มีความร่วมมือหรือความพยายามในการจัดการกับปัญหาร่วมกัน
ทุกประเทศในยุโรปปิดพรมแดน
จีนขึ้นมามีบทบาทท้าทายสหรัฐฯ มากขึ้น
ก้าวไปสู่ระบบสองขั้วอำนาจ
กระแสการเมืองโลกอาจจะเปลี่ยนจากสหรัฐฯ (US-Centric Glo- balization) เป็นจีน (China-Centric Globalization)
ความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐฯ และจีน (Sino-American Relations) ถดถอยลง
อิทธิพลโลกตะวันออกเพิ่มขึ้น
การบูรณาการของสหภาพยุโรป (EU Integration) จะอ่อนแอลง
ไวรัสจะเร่งให้โลกเปลี่ยนไปสู่สองขั้วอำนาจได้เร็วขึ้นในอนาคต
จีนจะได้รับการยอมรับจากนานาชาติเพิ่มขึ้น ทั้งจากการให้เงินสนับสนุน ส่งทีมแพทย์ให้ความช่วยเหลือประเทศต่างๆ
‘เชื้อโรค’ จะกลายเป็นปัจจัยการเปลี่ยนผ่านอำนาจโลก
มิติด้านเศรษฐกิจและห่วงโซ่อุปทานโลก
เศรษฐกิจโลกเข้าสู่ภาวะถดถอย
แนวคิดชาตินิยมทางเศรษฐกิจ
การหยุดชะงักของการผลิตและห่วงโซ่อุปทานโลก
หยุดชะงักของการผลิต (Supply Disruption)
ผลกระทบต่ออาเซียน
ลดการพึ่งพาจีนลงในแง่ของ Supply Chains
การท่องเที่ยวจะได้รับผลกระทบอย่างมาก
บรูไนฯ และมาเลเซียอาจจะได้รับผลกระทบจากการส่งออกน้ำมัน
ท้าทายเสถียรภาพทางการเมืองของประเทศอาเซียน
อาเซียนจะประสบภาวะเศรษฐกิจถดถอยและการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจจะเป็นไปอย่างช้าๆ
ผลกระทบต่อไทยและข้อเสนอแนะ
สหรัฐฯ และจีน จะยังคงแย่งชิงการมีบทบาทนำในด้านความสัมพันธ์กับไทย
แนวโน้มจะเข้ามาลงทุนและเพิ่มกิจกรรมทางเศรษฐกิจในไทย
โรคระบาดจะกลายเป็นวาระสำคัญของประชาคมระหว่างประเทศ
ระยะห่างทางกายภาพ ใกล้ชิดในโลกดิจิตอล
มาเลเซีย
คาดว่า GDP ของมาเลเซีย จึงจะ ติดลบร้อยละ 6 เมื่อเทียบกับปี 2562
ศูนย์กลางประสานงานเครือข่าย ASEAN Emergency Operations Centre Network for Public Health Emergencies (ASEAN EOC Network)
ไทย
ไทยจะเป็นประเทศที่ได้รับผลกระทบมากที่สุดในอาเซียน โดยคาดว่า GDP อาจ ลดลงถึงร้อยละ 8
ยุทธศาสตร์อินโด-แปซิฟิก
อิงกับการทหารเป็นหลัก
ผชิญหน้ากันมากกว่าความร่วมมือ
ความหวาดระแวงซึ่งกันและกันรุนแรงมากขึ้น