Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6การจัดการความรู้ - Coggle Diagram
บทที่ 6การจัดการความรู้
-
-
หลักการการจัดการความรู้
-
การให้บุคลากรได้ทดลองการเรียนรู้เป็นหลักสำคัญอันเนื่องมาจากการจัดความรู้เป็นการสร้างสรรค์หากให้มีการปฏิบัติจริงค่อยๆทำทีละนิดจนได้ผล
การให้บุคลากรนำความรู้ภายนอกมาใช้พัฒนางานอย่างเหมาะสมโดยถือว่าความรู้ที่มีอยู่ภายนอกองค์กรมีความรู้ที่ยังดิบ หากนำมาทำให้สุกโดยการปรับปรุงให้พร้อมใช้งาน
-
วิธีการจัดการความรู้
วิธีการจัดการความรู้ในองค์กรได้เสนอกิจกรรมที่เป็นวิธีการจัดการความรู้ไว้คือสร้างวิสัยทัศน์เกี่ยวกับความรู้
การสร้างการจัดการความรู้ในองค์กรความรู้เริ่มจากตัวบุคคลเป็นคนไปในที่สุดก็นำไปสู่การดำเนินการเป็นทีมและเป็นระบบทั้งองค์กรจำเป็นต้องสร้างทีมบริหารจัดการความรู้ประกอบด้วยสามกลุ่มใหญ่ได้แก่
-
-
-
-
-
องค์ประกอบของเครือข่ายการจัดการความรู้ ควรเกิดขึ้นตามเป้าหมายความต้องการของผู้เรียนเเละอยู่คู่ขนานกับงานปกติหรือธุรกิจหลักขององค์กรองค์ประกอบของเครือข่ายการจัดการมี4องค์ประกอบ
-
-
1 เป้าหมายและวัตถุประสงค์ของผู้เข้าร่วมเครือข่ายการจัดการความรู้เป็นความความต้องการเรียนรู้ร่วมกัน มีความสนใจและต้องการความรู้ในเรื่องเดียวกัน
4 เทคโนโลยีสารสนเทศจะเป็นตัวช่วยในการสนับสนุน เชื่อมโยงที่มีจุดมุ่งหมายเดียวกันที่ต้องการการแรกเปลี่ยนความรู้แต่อยู่คนละพื้นที่กัน
-
กระบวนการจัดการความรู้ สรุปได้ว่า เปรียบเสมือนกระบวนการขัดเกลาทางสังคม
การเรียนรู้จากภายในบุคคล/องค์กรการเรียนรู้เอกสาร ภายนอกคุณกรณ์การบูรณาการความรู้เข้าด้วยกันสู่ความเป็นสากล การพัฒนา การเผยแพร่ การรวบรวม การสื่อสาร การสังเคราะห์การประเมิน การเปลี่ยนผ่านความรู้การเข้าใจการจัดองค์กร การปรับปรุงและการประยุกต์ใช้ความรู้
-
ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จของการจัดการความรู้
จากแนวคิดของนักวิชาการและงานวิจัยจำนวนหนึ่ง ทำให้เห็นว่าการดำเนินงานการจัดการความรู้ที่จะประสบความสำเร็จได้นั้นปัจจัยสำคัญเห็นความสำเร็จที่นำไปสู่การจัดการความรู้ได้แก่วัฒนธรรมองค์กรที่มีวัฒนธรรมการเรียนรู้ ความมุ่งมั่น การมีส่วนร่วมของบุคลากรในองค์กรการมีสิ่งแวดล้อมที่ส่งเสริมการให้ข้อมูลป้อนกลับและผู้บริหารมีภาวะผู้นำ
ประโยชน์และผลลัพธ์ที่ได้จากการจัดการความรู้ การจัดการความรู้ที่ดีช่วยให้องค์กรได้รับการปรับปรุงประสิทธิภาพและเพิ่มผลผลิตให้กับทุกภาคส่วนเห็นและแลกเปลี่ยนความรู้ได้อย่างเต็ม ที่เพิ่มคุณภาพและลดรอบเวลา คือ
- ช่วยลดระยะเวลาการพัฒนาผลิตภัณฑ์
- มีความคงที่ในผลของการเรียนรู้การปฎิบัติงานและผลิตภัณฑ์คุณภาพ
- การพัฒนาคุณภาพของความรู้ไปสู่นวัตกรรมใหม่ในการบริหารจัดการความรู้จะมีผลลัพธ์สองทางคือทางบวกและทางลบ
- บุคลากรได้รับความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน
- มีกำไรมากขึ้น/ลดต้นทุนลดการสูญเสียเวลา
การจัดการความรู้ในสถานศึกษา
สถานศึกษาเป็นหน่วยสำคัญที่สุดในการจัดการศึกษาเพื่อให้ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้โดยมีผู้บริหารสถานศึกษาและครูเป็นผู้รับผิดชอบดำเนินงานคุณภาพการศึกษาจะต่ำหรือสูงจึงขึ้นอยู่กับผู้บริหารและครูเป็นสำคัญโดยเฉพาะการจัดการเรียนรู้ของครูจะต้องอาศัยความรู้และกระบวนการที่เหมาะสมในการจัดการเรียนรู้จะต้องดำเนินงานร่วมกับผู้เรียนผู้บริหารและชุมชน
-