Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล :star: - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล :star:
1 ชนิดของแผลและปัจจัยการส่งเสริมการหายของแผล :<3:
ชนิดของแผล (Type of wound)
ชนิดของแผลแบ่งตามลำดับความสะอาด
Class III: Contaminated ประเภทที่ 3 แผลปนเปื้อนลักษณะแผลเปิด แผลสด แผลจากการได้รับอุบัติเหตุแผลที่เกิดกํารปนเปื้อน
Class IV: Dirty/Infected ประเภทที่ 4 แผลสกปรก/แผลติดเชื้อลักษณะแผลเก่า (old traumatic wound) แผลมีเนื้อตาย (gangrene)แผลมีการติดเชื้อมาก่อน แผลกระดูกหักเกิน 6 ชั่วโมง เช่น แผลไส้ติ่งแตก
Class I: Clean wound ประเภทที่ 1 แผลผ่าตัดสะอาด ลักษณะเป็นแผลที่ไม่มีการติดเชื้อ,ไม่มีการอักเสบมาก่อน
Class II: Clean-contaminated ประเภทที่ 2 แผลสะอําดกึ่งปนเปื้อนลักษณะแผลที่มีกํารผ่าตัดผ่านระบบทํางเดินหายใจ, ระบบทางเดินอาหาร
ชนิดของบาดแผลแบ่งตามระยะเวลาการเกิด
แผลเรื้อรัง(chronic wound)
แผลเนื้อตําย(gangrene wound)
แผลที่เกิดเฉียบพลัน(acute wound)
ชนิดของแผลแบ่งตามลักษณะพื้นผิว
แผลลักษณะแห้ง (dry wound)
แผลลักษณะเปียกชุ่ม (wet wound)
ชนิดของแผลแบ่งตามการรักษา
2.การรักษาแผลด้วยสุญญากาศ(Negative Pressure Wound Therapy: NPWT)
แผลท่อระบาย เป็นแผลผ่าตัดซึ่งศัลยแพทย์เจาะผิวหนังเพื่อใส่ท่อระบายของเสีย
การรักษาผู้ป่วยศัลยกรรมกระดูกด้วยวิธีการจัดกระดูกให้อยู่นิ่ง(retention)
แผลท่อหลอดคอ (tracheostomy tube)
แผลท่อระบํายทรวงอก (chest drain)
แผลทวํารเทียมหน้ําท้อง (colostomy)
ชนิดของแผลแบ่งตามสาเหตุ
แผลที่เกิดจํากถูกยิง เรียก gunshot wound
แผลที่มีขอบแผลขําดกะรุ่งกะริ่ง เรียก lacerated wound
แผลที่เกิดจํากกํารกระแทกด้วยวัตถุลักษณะมน เรียก traumatic wound
แผลที่เกิดจากการถูไถลถลอก เรียก abrasion wound
แผลที่เกิดจากถูกบดขยี้ เรียก crush wound
แผลที่เกิดจากการติดเชื้อมีหนอง เรียก infected wound
แผลที่เกิดจากโดนระเบิด เรียก explosive wound
แผลที่เกิดจากกํารตัดอวัยวะบางส่วน เรียก stump wound
แผลที่เกิดจากถูกของมีคมทิ่มแทง เรียก stabwound
แผลที่เกิดจํากกํารกดทับ เรียก pressure sore
แผลที่เกิดจากถูกของมีคมตัดเรียก cut wound
แผลที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทํางกํายภําพและเคมี เช่น จากสารเคมีที่เป็นด่าง(alkaline burn) หรือ กรด(acid burn)
แผลที่เกิดจากการผ่าตัด เรียกsurgical wound , sterile wound
แผลที่เกิดจํากกํารปลูกผิวหนัง(skin graft)
ปัจจัยที่มีผลต่อการหายของบาดแผล
ปัจจัยเฉพาะที่ (Local factors)
3 การได้รับอันตรายและอาการบวม (trauma and edema)
4 การติดเชื้อ (infection) ทำให้แผลหายช้า
2 ภาวะแวดล้อมแห้ง (dry environment)
5 ภาวะเนื้อตาย (necrosis) มี2ชนิด คือ slough มีลักษณะเปียก (moist) สีเหลือง (yellow)เหนียว (stringy) และeschar มีลักษณะหนา เหนียว (thick) คล้ํายหนังสัตว์มีสีดำ (black)
1แรงกด (pressure)การนอนในท่าเดียวนานๆ
6 ความไม่สุขสบาย (incontinence)
ปัจจัยระบบ (Systemic factors)
3 น้ำนร่างกาย (body fluid) ผู้ป่วยอ้วนการหายของแผลค่อนข้างช้า
4 การไหลเวียนของโลหิตบกพร่อง (vascular insufficiencies)
2โรคเรื้อรัง(chronic disease)
5 ภาวะกดภูมิคุ้มกันและรังสีรักษา(immunosuppression and radiation therapy)
1 อายุ (age)คนที่มีอายุน้อยบาดแผลจะหายได้เร็วกว่าคนที่มีอายุมาก
6 ภาวะโภชนาการ (nutritional status)
2ลักษณะและกระบวนการหายของแผล :explode:
ลักษณะการหายของแผล(Type ofwound healing)
2.การหายของแผลแบบทุติยภูมิ(Secondaryintentionhealing)เป็นแผลขนาดใหญ่ที่เนื้อเยื่อถูกทำลาย มีการสูญเสียเนื้อเยื่อบางส่วน ขอบแผลมีขนําดกว้างเย็บแผลไม่ได้
3.การหายของแผลแบบตติยภูมิ(Tertiaryintentionhealing)เป็นแผลชนิดเดียวกับแผลทุติยภูมิ
1.การหายของแผลแบบปฐมภูมิ(Primaryintentionhealing)เป็นแผลประเภทที่ผิวหนังมีกํารสูญเสียเนื้อเยื่อเพียงเล็กน้อย และเป็นแผลที่สะอาด
กระบวนการหายขอแผล
(Stage of wound healing)
ระยะ2: การสร้างเนื้อเยื่อ (Proliferate phase)
จะเริ่มตั้งแต่วันที่ 4-12 วัน ซึ่งจะเห็น fibroblast (เป็นconnective tissueชนิดหนึ่ง) เกิดขึ้นในแผล เริ่มมีเนื้อเยื่อเกิดใหม่ (granulation tissue)
ระยะ3: การเสริมความแข็งแรง (Remodeling phase)
เป็นระยะสุดท้ํายของกํารสร้ํางซึ่งfibroblast จะเปลี่ยนเป็น myofibroblast (เป็นเนื้อเยื่อลักษณะเป็นกล้ํามเนื้อ)ที่มีควํามแข็งแรงเพิ่มมํากขึ้นกว่ํา fibroblast
ระยะ1: ห้ามเลือดและอักเสบ
คือ หลั่งสาร thrombokinase และthromboplastinทำให้ prothrombin กลํายสภาพเป็น thrombin ช่วยทำให้ fibrinogen เปลี่ยนเป็น fibrin เกิดเป็นลิ่มเลือดทำให้เลือดหยุด
การบันทึกลักษณะบาดแผล
4.สี เช่น แดง (readiness) เหลือง (yellow)
5.ลักษณะผิวหนัง เช่น ผื่น (rash)
3.ขนาด ควรระบุเป็นเซนติเมตร
6.ขั้นหรือระยะความรุนแรงของบาดแผล เช่น แผลกดทับขั้น 4
2.ตำแหน่ง/บริเวณ เช่น ตำแหน่ง RLQ
7.สิ่งที่ปกคลุมบาดแผลหรือสํารคัดหลั่ง (discharge)เช่น หนอง
ชนิดของบาดแผล เช่น แผลผ่าตัด
วิธีการเย็บแผลและวัสดุที่ใช้ในการเย็บแผล
วิธีการเย็บแผล
Interrupted methodเป็นวิธีกํารเย็บแผลที่ต้องตัดวัสดุเย็บแผลในทุกฝีเข็ม
2.1 Simple interrupted methodเป็นวิธีการเย็บแผลเพื่อดึงรั้งให้ขอบแผลทั้งสองติดกัน
2.2 Interrupted mattress methodเป็นวิธีกํารเย็บแผลโดยกํารตักเข็มเย็บที่ขอบแผลสองครั้ง
Subcuticular methodเป็นกํารเย็บแผลแบบ continuous methodแต่ใช้เข็มตรงในกํารเย็บ และซ่อนวัสดุเย็บแผลไว้ในชั้นใต้ผิวหนัง
Continuous methodเป็นวิธีการเย็บแผลแบบต่อเนื่องตลอดความยาวของแผล
Retention method (Tension method)เป็นวิธีกํารเย็บรั้งแผลเข้าหากัน เพื่อพยุงแผลในกรณีผู้ที่มีชั้นไขมันหน้าท้องหนา
วัสดุที่ใช้ในการเย็บแผล
วัสดุที่ละลายได้เอง (Absorbable sutures)
เส้นใยธรรมชาติ
ได้แก่ catgut ทำมาจาก collagen ใน submucosa ของล ําไส้แกะหรือวัว
เส้นใยสังเคราะห์
เช่น polyglycolic acid (dexon), polyglycan (vicryl) และ polydioxanone (PDS)ส่วนplain catgut ละลํายได้เร็ว 5-10 วัน ใช้เย็บกล้ามเนื้อที่ไม่ลึกมําก
วัสดุที่ไม่ละลายเอง (Nonabsorbable sutures)
เส้นใยตามธรรมชาติ
เช่นไหมเย็บแผล(silk) เหมาะสำหรับเย็บแผลบริเวณที่มีผิวหนังหนา เช่น หนังศีรษะ
เส้นใยสังเคราะห์
เช่น nylon เส้นเหล่านี้มีความแข็งแรงมากกว่าไหมเย็บแผล แต่ผูกปมยากและคลายได้ง่าย
วัสดุที่เย็บเป็นโลหะ
เช่น ลวดเย็บ (staples) เป็นวัสดุเย็บแผลสำเร็จรูป แต่ต้องมีเครื่องมือสำหรับใส่ลวดเย็บ
3วิธีการทำแผลชนิดต่างๆและการตัดไหม :curly_loop:
ชนิดของการทำแผล
การทำแผลแบบแห้ง(Dry dressing)หมายถึง การทำแผลที่ไม่ต้องใช้ความชุ่มชื้นในการหายของแผลใช้ทำแผลสะอาด แผลปิด
การทำแผลแบบเปียก (Wet dressing)หมายถึง การทำแผลที่ต้องใช้ความชุ่มชื้นในการหายของแผล ใช้ทำแผลเปิด แผลอักเสบติดเชื้อ
อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำแผล
อุปกรณ์ทำความสะอาดแผล
1ชุดทำแผล (dressing set)ที่ปราศจากเชื้อ ประกอบด้วย ปากคีบไม่มีเขี้ยว,ปากคีบมีเขี้ยว,ถ้วยใส่สํารละลาย,สำลี และgauze
2สารละลาย(solution) ได้แก่ แอลกอฮอล์,น้ำเกลือล้างแผล,น้ำเกลือล้างแผล
วัสดุสำหรับปิดแผล
1 ผ้าก๊อซ (gauze dressing)
2 ผ้าก๊อซหุ้มสำลี (top dressing)
3 ผ้าซับเลือด (abdominal swab)
4 วายก๊อซ (y-gauze)
5 วาสลินก๊อซ (vaseline gauze)
6 ก๊อซเดรน (drain gauze)
7 transparent film
8 แผ่นเทปผ้าปิดแผล
9 antibacterial gauze dressing
วัสดุสำหรับยึดติดผ้าปิดแผล
วัสดุที่ใช้คือ plasterชนิดธรรมดาเช่น transporeเพราะง่าย สะดวก แต่มีข้อเสียคือ ระคายเคืองผิวหนัง และเจ็บขณะดึงออกจากแผล
อุปกรณ์อื่น ๆ
กรรไกรตัดไหม (operating scissor)กรรไกรตัดเชื้อเนื้อ (Metzenbaum) ช้อนขูดเนื้อตาย (curette) อุปกรณ์วัดความลึกของแผล (probe)
ภาชนะสำหรับทิ้งสิ่งสกปรก
เช่น ชามรูปไต ถุงพลาสติก เป็นต้น
การตัดไหม (Sutureremoval)
โดยทั่วไปแผลหลังผ่าตัดจะแห้งสนิทภํายใน 7-10 วัน แพทย์จะอนุญาตให้ทำการตัดไหม
หลักการตัดไหม
1.ตรวจสอบคำสั่งการรักษาของแพทย์ทุกครั้งว่ามีจุดประสงค์ให้ตัดไหมทุกอัน หรือ ตัดอันเว้นอัน
เศษไหมที่เย็บแผลส่วนที่มองเห็นเป็นส่วนที่มีการสัมผัสเชื้อแบคทีเรียที่อาศัยอยู่ตามผิวหนังในการตัดและดึงไหมออกจึงไม่ควรดึงไหมส่วนที่มองเห็นลอดผ่านใต้ผิวหนัง
ขณะตัดไหมหากพบว่ามีขอบแผลแยกให้หยุดทำและปิดแผลด้วยวัสดุที่ช่วยดึงรั้งให้ขอบแผลติดกัน
4วิธีการพันแผลชนิดต่างๆ :spider_web:
ชนิดของผ้าพันแผล
2.ผ้าพันแผลชนิดม้วน(roller bandage)
ผ้าพันแผลชนิดพิเศษ (special bandage)
ผ้าสามเหลี่ยม (triangular bandage)
วิธีการพันแผล
1. การใช้ผ้าสามเหลี่ยม
เป็นสามเหลี่ยมที่มีมุมยอดเป็นมุมฉาก ขนาดของผ้าที่ใช้ขึ้นอยู่กับขนาดของตัวผู้ป่วยและอวัยวะที่ต้องการพันผ้า
2. การใช้ผ้าพันแผลชนิดม้วน
มีหลักการพันผ้า ได้แก่ เริ่มต้นพันผ้าจากส่วนเล็กไปหาส่วนใหญ่ พันผ้าเข้าหาตัวผู้ป่วย ตั้งต้นและจบผ้าพันด้วยการพันรอบทุกครั้งเพื่อให้ผ้าไม่เลื่อนหลุด
การพันผ้าแบบชนิดม้วน
1.การพันแบบวงกลม(circular turn)
เหมาะสำหรับพันอวัยวะที่มีรูปทรงกระบอก เช่น แขน ขา นิ้วมือ นิ้วเท้า
2.การพันแบบเกลียว (spiral turn)
เหมาะสำหรับพันอวัยวะที่มีรูปทรงกระบอก เช่น แขน ขา นิ้วมือ นิ้วเท้า
3. การพันแบบเกลียวพับกลับ(spiral reverse)
เหมาะสำหรับอวัยวะที่เป็นทรงกระบอก การพันแบบนี้ใช้พันเมื่อต้องการความอบอุ่น ต้องการแรงกด
4. การพันเป็นรูปเลข 8(figure ofeight)
เหมาะสำหรับพันบริเวณข้อพับ เช่น ข้อศอก ข้อเข่าข้อเท้า เพื่อให้ข้อดังกล่าวเคลื่อนไหวได้
5. การพันแบบกลับไปกลับมา (recurrent)
เหมาะสำหรับการพันเพื่อยึดผ้าปิดแผลที่ศีรษะ การพันแผลที่เกิดจากการถูกตัดแขน ขา (stump) เพื่อบรรเทาอาการบวมและทำให้คงรูปทรงเดิม
5ปัจจัยที่ทำให้เกิดแผลกดทับ ระยะของแผลกดทับและการป้องกันแผลกดทับ :red_flag:
แผลกดทับ(Pressure sore, Bed sore, Decubitus ulcer, Pressure injury)
หมายถึง บริเวณผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง ที่มีการทำลายเฉพาะที่จากแรงกดทับ แรงเสียดทาน และแรงเฉื่อย ที่มากระทำอย่างต่อเนื่อง
พยาธิสภาพของการเกิดแผลกดทับ
มื่อมีแรงกดทับผิวหนังที่ทำกับปุ่มกระดูกเป็นเวลานานทำให้ผิวหนังและเนื้อเยื่อรอบ ๆ ขาดออกซิเจนจากโลหิตมําเลี้ยงไม่ได้ ทำให้เกิดการตายของผิวหนังและเนื้อเยื่อต่ําง ๆ
ปัจจัยส่งเสริมการเกิดแผลกดทับ
ปัจจัยภายในร่างกาย
1 อายุ
ผู้ป่วยที่เกิดแผลกดทับ ร้อยละ 70
2 ภาวะโภชนาการ
ผู้ป่วยที่ได้รับสารอาหารที่ไม่เพียงพอ
3ยาที่ได้รับการักษา
ได้แก่ ยาขับปัสสาวะ ยาระบาย(ทำให้เกิดกํารเปียกชื้นของผิวหนัง)
4 การผ่าตัด
ผู้ป่วยที่ใช้เวลาในการนานกว่า 3 ชั่วโมง จะมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับ
2.ปัจจัยภายนอกร่างกาย
2 แรงเสียดทาน
3 แรงเฉือน (หมายถึงแรงกระทำในทิศทางตั้งฉากกับงาน)
1 แรงกด
4 ความชื้น
ระยะของแผลกดทับ
ระดับที่ 2 ผิวหนังแดงเริ่มมีแผลเล็กๆ มีหนังแท้ถูกทำลายฉีกขาดเป็นแผลตื้น และเริ่มมีสารคัดหลั่งจากแผล
ระดับที่3 แผลลึกถึงชั้นไขมัน แต่ยังไม่ถึงชั้นกล้ามเนื้อ มีรอยแผลลึก มีสิ่งขับหลั่งจํากแผล เริ่มมีกลิ่นเหม็นยังไม่มีเนื้อตาย
ระดับที่1 ผิวหนังแดงไม่มีการฉีกขาดของผิวหนังและไม่จางหายไปภายใน 30 นาที
ระดับที่ 4 แผลลึกเป็นโพรงถึงกล้ามเนื้อ กระดูก และเยื่อหุ้มข้อ พบมีเนื้อตาย
บริเวณที่อาจเกิดแผลกดทับได้ง่ายในท่าทางต่าง ๆ
ท่านอนคว่ำ บริเวณที่เกิดคือ ใบหูและแก้มหน้าอกและใต้ราวนม หน้าท้อง
ท่านอนตะแคง บริเวณที่เกิดคือ ศีรษะด้านข้าง หัวไหล่ กระดูกก้น ปุ่มกระดูกต้นขาฝีเย็บ
ท่านอนหงาย บริเวณที่เกิดคือ ท้ายทอย ใบหูหลังส่วนบน ก้นกบ ข้อศอก ส้นเท้า
ท่านั่ง บริเวณที่เกิดคือ ก้นกบปุ่ม กระดูกก้น หัวเข่าด้านหนัง กระดูกสะบัก เท้า
การป้องกันการเกิดแผลกดทับ
การประเมินความเสี่ยงตามแบบประเมินความเสี่ยงของกํารเกิดแผลกดทับ
2.การเฝ้ําระวังความเสี่ยงและควรกํารประเมินซ้ำเมื่อมีปัจจัยเสี่ยง
ลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับและเพิ่มปัจจัยเสริมการหายของแผล
1ให้การดูแลช่วยเหลือและคำแนะนำทั่วไป
2 การดูแลและคำแนะนำเรื่องอาหารและโภชนาการ
3 การดูแลและคำแนะนำเรื่องยาที่ใช้ในการรักษา
4 การดูแลและคำแนะนะสำหรับผู้ป่วยที่ต้องใช้อุปกรณ์
5 การดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยที่มีปัญหาการขับถ่ายปัสสาวะหรืออุจจาระ
6กระบวนการพยาบาลในการพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล :check:
กระบวนการพยาบาล
การประเมินภาวะสุขภาพ (Assessment)
การประเมินภาวะสุขภาพด้านร่างกายและจิตใจ
การประเมินสภาพร่างกายและจิตใจ ความรุนแรงของโรค
ประเมินระดับคะแนนความเจ็บปวด
ประเมินความวิตกกังวลจากการผ่าตัดและพยําธิสภาพของโรค
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
วัตถุประสงค์
เกณฑ์การประเมินผล
การปฏิบัติการพยาบาลแบบองค์รวม (Holistic nursing care)
2 ด้านจิตใจ
3 ด้านสังคม
1 ด้านร่างกาย
4 ด้านจิตวิญญาณ
การประเมินผล (Evaluation)
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล เป็นการประเมินผลของการปฏิบัติงาน เพื่อนำมาปรับปรุงการปฏิบัติงานในครั้งต่อไป
การประเมินผลคุณภาพการบริการ เป็นกํารประเมินคุณภาพของผลการปฏิบัติงาน เพื่อนำมาปรับปรุงการปฏิบัติงานในครั้งต่อไป
การประเมินผลการพยาบาลเป็นการประเมินผลลัพธ์การพยาบาล
กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีแผลกดทับสถานการณ์ตัวอย่าง
ผู้ป่วยชํายไทยอํายุ 39 ปี ประสบอุบัติเหตุได้รับกํารผ่ําตัดดํามเหล็ก ท ําให้เป็นอัมพําตท่อนล่ําง จํากสถํานกํารณ์ข้ํางต้นประยุกต์ใช้กระบวนกํารพยําบําลในกํารให้กํารพยําบําลเพื่อป้องกันกํารเกิดแผลกดทับของผู้ป่วยรํายนี้
การวางแผนให้การพยาบาล (Planning)
4.การให้การพยาบาลตามแผนการพยาบาลที่วางไว้
2 การใช้อุปกรณ์กดแรงกด (pressure-relieving device)
3 การจัดโปรแกรมการให้ความรู้ (educational programs)
1การจัดท่าทาง (positioning)
การประเมินผลการพยาบาล
ต้องมีความสอดคล้องกับข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลและเกณฑ์การประเมินผลรายข้อ
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Diagnosis)
เสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับบริเวณก้นกบเนื่องจากขยับตัวเองไม่ได้” ข้อมูลสนับสนุน ประเมินความเสี่ยง Braden scaleได้เท่ากับ 12 คะแนน
“เสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับ เนื่องจากมีภาวะทุพโภชนการต่ำระดับ 2” ข้อมูลสนับสนุน ประเมินค่าดัชนีมวลกาย ได้เท่ากับ 17 ก.ก/ม 2
การประเมินภาวะสุขภาพ (Assessment)
ประเมินความเสี่ยงโดยใช้แบบประเมินความเสี่ยง (Risk assessment tool)
ประเมินผิวหนังและความสะอาด
(skin assessment &cleaning)
การประเมินความมารถของผู้ป่วย (ability assessment)
ประเมินภาวะโภชนาการ (nutritional assessment)