Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่6 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล - Coggle Diagram
บทที่6 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล
ชนิดของแผลและปัจจัยการส่งเสริมการหายของแผล
ชนิดของแผล
แบ่งตามลำดับความสะอาด
Clean - contaminated แผลสะอาดกึ่งปนเปื้อน
มีการผ่าตัดผ่านระบบทางเดินหายใจ ระบบทางเดินอาหาร ท่อน้ำดี อวัยวะสืบพันธุ์ และช่อง oropharynx ที่ควบคุมการเกิดปนเปื้อนได้ขณะทำผ่าตัด
Contaminated แผลปนเปื้อน
ลักษณะแผลเปิด แผลสด แผลจาการได้รับอุบัติเหตุ ปนเปื้อนสารคัดหลั่งระบบทางเดินอาหาร มีการอักเสบเฉียบพลัน
Clean wound แผลผ่าตัดสะอาด
เป็นแผลไม่มีการติดเชื้อ ไม่อักเสบ ไม่มีการแทงทะลุ/ฉีกขาด เป็นแผลชนิดปิด
Dirty/Infected แผลสกปรก/แผลติดเชื้อ
ลักษณะแผลเก่า แผลมีเนื้อตาย มีการติดเชื้อมาก่อน กระดูกหักเกิน6ชั่วโมง
แบ่งตามระยะเวลาเกิด
แผลเรื้อรัง
รักษาระยะเวลานาน ยาก มีอาการแทรกซ้อน
แผลเนื้อตาย
เกิดจากการขาดเลือดไปเลี้ยง/เลี้ยงไม่พอ
แผลที่เกิดขึ้นเฉียบพลัน
รักษาระยะสั้น
แบ่งตามลักษณะพื้นผิว
แผลลักษณะแห้ง (dry wound)
ลักษณะของแผลมีขอบแผลติดกัน ไม่มีสารคัดหลั่ง
แผลลักษณะเปียกชุ่ม(wet wound)
ลักษณะของขอบแผลไม่ติดกัน ขอบแผลกว้าง มีสารคัดหลั่ง
แบ่งตามการรักษา
แผลท่อระบาย
แผลท่อหลอดคอ(tracheostomy tube)
การรักษาแผลด้วยสูญญากาศ
แผลท่อระบายทรวงอก(chest drain)
รักษาผู้ป่วยศัลยกรรมกระดูกด้วยวิธีการจัดกระดูกให้อยู่นิ่ง
แผลทวารเทียมหน้าท้อง(colostomy)
แบ่งตามสาเหตุ
ถูกยิง
gunshot wound
ขอบแผลขาดกะรุ่งกะริ่ง
lacerated wound
การกระแทกด้วยวัตถุลักษณะมน
traumatic wound
ถูไถถลอก
abrasion wound
ถูกบดขยี้
crush wound
การติดเชื้อมีหนอง
infected wound
โดนระเบิด
explosive wound
การตัดอวัยวะบางส่วน
stump wound
ถูกของมีคมทิ่มแทง
stab wound / peneturating wound
การกดทับ
pressure sore , bedsore , decubitus ulcer, pressure injury
ถูกของมีคมตัด
cut wound
เกิดจาการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและเคมี
จากไฟไหม้ น้ำร้อนลวก
จากสารเคมีที่เป็นด่าง
จากสารเคมีที่เป็นกรด
จากถูกความเย็นจัด
จากไฟฟ้าซ็อต
จากรังสี
การผ่าตัด
surgical wound,sterile wound , incision wound
การปลูกผิวหนัง
ปัจจัยที่มีผลต่อการหายของแผล
ปัจจัยเฉพาะที่
การได้รับอันตรายและอาการบวม(trauma and edema)
การติดเชื้อ(Infection)
ภาวะแวดล้อมแห้ง(dry environment)
ภาวะเนื้อตาย (necrosis)
eschar
ลักษณะเหนียว หนา คล้ายหนังสัตว์สีดำ
slough
ลักษณะเปียก สีเหลือง เหนียว หลวมยืดหยุ่นปกคลุมแผล
แรงกด(pressure)
ความไม่สุขสบาย (Incontinence)
ปัจจัยระบบ
น้ำในร่างกาย (body fluid)
การไหลเวียนของโลหิตบกพร่อง(vascular insuffciencies)
โรคเรื้อรัง(chronic disease)
ภาวะกดภูมิคุ้มกันและรังสีรักษา (immunosuppression and radiation therapy)
อายุ (age)
ภาวะโภชนาการ(nutritionnal status)
ลักษณะและกระบวนการหายของแผล
กระบวนการหายของแผล (Stage of wound healing)
ระยะที่2 การสร้างเนื้อเยื่อ
เกิด fibroblast ที่แผล มีเนื้อเยื่อเกิดใหม่
macrophage สร้าง growth factor จำเป็นต่อการสร้าง fibroblast และกระบวนการสร้างหลอดเลือด
ระยะที่3 การเสริมความแข็งแรง
fibroblast เปลี่ยนเป็น myofibroblast
มีความแข็งแรงเพิ่มมากขึ้นกว่า
ระยะที่1 ห้ามเลือดและอักเสบ
platelets จะหลั่งสาร thrombokinase ,thromboplastin
prothrombon กลายเป็น thrombin ทำให้fibrinogen กลายเป็น fibrin
เกิดเป็นลิ่มเลือดทำให้เลือดหยุด
ลักษณะการหายของแผล (Type of wound healing)
การหายของแผลแบบทุติยภูมิ (Secondary intention healing)
เป็นแผลขนาดใหญ่ที่เนื้อเยื่อถูกทำลาย สูญเสียเนื้อเยื่อบางส่วน
แผลกดทับ แผลไฟไหม้
การหายของแผลแบบตติยภูมิ (Tertiary intention healiing)
เป็นแผลชนิดเดียวกับแผลทุติยภูมิ รักษาโดยการทำแผลจนมีเนื้อเยื่อใหม่ปกคลุมสีแดงสด
การหายของแผลแบบปฐมภูมิ (Primary intention healing)
เป็นแผลที่ผิวหนังมีการสูญเสียเนื้อเยื่อเพียงเล็กน้อย/แผลสะอาด
วิธีการเย็บแผล
Interrupted method
Simple interrupted method
การเย็บแผลเพื่อดึงรั้งให้ขอบแผลทั้งสองติดกัน
เหมาะสำหรับเย็บบาดแผลผิวหนังทั่วไป
Intrerupted mattress method
เย็บแผลโดยการตักเข็มเย็บที่ขอบแผลสองครั้ง
เหมาะสำหรับเย็บแผลที่ลึก ยาว
Subcuticular method
เย็บแบบ continuous method แต่ใช้เข็มตรงในการเย็บและซ่อนวัสดุเย็บแผลไว้ในชั้นใต้ผิวหนัง
เหมาะสำหรับการเย็บด้านศัลยกรรมตกแต่งเพื่อความสวยงาม
วัสดุที่ใช้เย็บเป็นชนิดละลายได้เองจึงมีโอกาสเป็นแผลน้อย
continuous method
เป็นการเย็บแผลแบบต่อเนื่องตลอดความยาวของแผล ไม่มีการตัดจนกว่าจะเสร็จสิ้นการเย็บแผล
Retention method
เย็บรั้งแผลเข้าหากันเพื่อพยุงในกรณีที่มีชั้นไขมันหน้าท้องหนา/ แผลตึงมาก
วัสดุมี่นิยมใช้ nylon , steel wire , linen
วัสดุที่ใช้ในการเย็บแผล
วัสดุที่ละลายเองได้(Absorbable sutures)
เส้นใยธรรมชาติ
catgut ทำจากcollagen ใน submucosaของลำไส้แกะ/วัว
ยุ่ยสลาย4-5วัน หมดไป2อาทิตย์
เส้นใยสังเคราะห์
polyglycolic acid , polyglycan , polydioxanone(PDS)
ละลายเร็ว5-10วัน/ช้า 10-20วัน
วัสดุที่ไม่ละลายเอง(Non-Absorbable sutures)
เส้นใยสังเคราะห์
nylon
วัสดุที่เย็บเป็นโลหะ
ลวดเย็บ
เส้นใยตามธรรมชาติ
ไหมเบ็บแผล
วิธีการทำแผลชนิดต่างๆและการตัดไหม
การทำแผล
การทำแผลผ่าตัดแบบแห้ง(Dry dressing)
หยิบ tooth forceps ใช้รับของ sterile ทำหน้าที่เป็น dressing forceps
หยิบสำลีชุบแอลกอฮอล์เช็ดรอบๆ
หยิบnon-tooth forceps ใช้คีบส่งของ sterile
หยิบสำลีชุบ0.9%NSSเช็ดบนลงล่าง
เปิดชุดทำแผล
ทาแผลด้วย antiseptic solution
เปิดแผลโดยใช้มือ หยิบผ้าปิดแผลโดยพับส่วนที่สัมผัสแผลอยู่ด้านในทิ้งลงชามรูปไต
ปิดแผลด้วย gauze ติดพลาสเตอร์ตามแนวขวางของลำตัว
เก็บอุปกรณ์ ถอดถุงมือ ถอดแมส ล้างมือ
การทำแผลแบบเปียก(Wet dressing)
ทำความสะอาดริมขอบแผล
ใช้สำลีชุบน้ำเกลือ/น้ำยาเช็ดภายในแผลจนสะอาด
เปิดผ้าปิดแผลด้วย tooth forceps
ปิดแผลด้วยผ้า gauze ปิดพลาสเตอร์ตามแนวขวางของลำตัว
เปิดแผลโดยใช้มือ หยิบผ้าปิดแผลโดยพับส่วนที่สัมผัสแผลอยู่ด้านในทิ้งลงชามรูปไต
ใช้ผ้า gauze ชุบน้ำยาใส่แผล เพื่อฆ่าเชื้อดูดสารคัดหลั่งให้ความชุ่มชื่น
การทำแผลผ่าตัดที่มีท่อระบาย(Tube drain)
ใช้สำลีชุบแอลกอฮอล์ 70% เช็ดท่อระบายจากเหนือแผลออกมาด้านปลายท่อ
กรณี Penrose drain และแพทย์มีแผนการรักษาให้ตัดท่อยางให้สั้น
ใช้สำลีชุบNSS เช็ดตรงกลางแผลท่อระบาย
พับครึ่งผ้าgauze วางสองข้างของท่อระบายแล้ววางผ้าgauze ปิดทับท่อระบายอีกชั้น
ใช้non-tooth forceps หยิบสำชุบแอลกอฮอล์70% tooth forceps เช็ดผิวหนังรอบท่อระบาย
หลังจากทำแผลเสร็จจัดท่าให้ผู้ป่วยสุขสบาย
การเตรียมเครื่องใช้ในการทำแผล
อุปกรณ์ที่ใช้ทำความสะอาดแผล
วัสดุสำหรับยึดติดผ้าปิดแผล
วัสดุที่ใช้ plaster ชนิดธรรมดา
transpore
อุปกรณ์อื่นๆ
กรรไกรตัดไหม ,กรรไกรตัดเชื้อเนื้อ
วัสดุสำหรับปิดแผล
ภาชนะสำหรับทิ้งสิ่งสกปรก
ชามรูปไต ถุงพลาสติก
ชุดทำแผล
ชุดทำแผล
สารละลาย
น้ำเกลือล้างแผล
เบตาดีน
แอลกอฮอล์
การตัดไหม(Suture removal)
การตัดไหมที่เย็บแผลแบบต่อเนื่อง continuous method
ตัดไหมส่วนที่อยู่ชิดผิวหนังด้านตรงข้ามกับปมที่ผูกอันแรกและอันถัดไปด้ามเดิม
การตัดไหมที่เย็บชนิด interrupted mattress
ตัดไหมส่วนที่มองเห็นและอยู่ชิดผิวหนังมากที่สุด
การตัดไหมที่เย็บชนิด interrupted method
ใช้tooth forceps จับชายไหมดึงให้ตึงสอดกรรไกรตัดไหมในแนวราบแล้วดึงไหมในลักษณะดึงเข้าหาแผลเพื่อป้องการแผลแยก
กรณีที่ใช้ลวดเย็บเป็นวัสดุเย็บแผล
ใช้เครื่องตัดคือ removal staple
ทำความสะอาดแผลใช้แอลกอฮอล์70% ตามด้วยนำเกลือล้างแผลเช็ดให้แห้ง
ภายหลังตัดไหมครบทุกเส้นแล้ว เช็ดแผลด้วยnormal saline 0.9% ปิดแผลต่อ1วัน
ชนิดของการทำแผล
การทำแผลแบบแห้ง(Dry dressing)
การทำแผลโดยไม่ต้องการความชุ่มชื่นในการหายแผลสะอาด
แผลปิด แผลที่ไม่อักเสบ
การทำแผลแบบเปียก(Wet dressing)
การทำแผลที่ต้องใช้ความชุ่มชื่นในการหายของแผล
ทำแผลเปิด อักเสบติดเชื้อ มีสารคัดหลั่งมาก
วิธีการพันแผลชนิดต่างๆ
ชนิดของผ้าพันแผล
ผ้าพันแผลชนิดม้วน(Roller bandage)
เป็นม้วนกลม ชนิดที่ไม่ยืด และชนิดยืด
ผ้าพันแผลชนิดพิเศษ (Special bandage)
ผ้ามีรูปร่างแตกต่างกันไป เช่น ผ้าพันท้องหลายทาง
ผ้าสามเหลี่ยม(Triangular bandage)
ทำด้วยผ่าเนื้อละเอียดไม่ระคายเคืองต่อผิวหนัง
หลักการพันแผล
ทำความสะอาดแผลและปิดแผลก่อนจึงพันผ้า
ตำแหน่งที่บาดเจ็บ เช่น นิ้วมือ นิ้วเท้า ควรใช้ผ้าก๊อสคั่นระหว่างนิ้วก่อน
ลงน้ำมือเพื่อดึงผ้าพันแผลควรเหมาะสม
การพันผ้าบริเวณเท้า ขา ตะโพก ต้องมีคนช่วยประคองอวัยวะส่วนนั้น
การพันผ้าใกล้ข้อ ต้องพันโดยคำนึงถึงการเคลื่อนไหว
ผู้พันผ้าและผู้บาดเจ็บหันหน้าเข้าหากัน
บริเวณที่จะพันผ้าต้องสะอาดและแห้ง
วัตถุประสงค์
ช่วยพยุงผ้าปิดแผลให้อยู่กับที่
ให้ความอบอุ่นบริเวณนั้นๆ
ใช้เป็นแรงกดป้องกันเลือดไหล
ช่วยให้อวัยวะอยุ่คงที่
ป้องกันการติดเชื้อ
รักษารุปร่างของอวัยวะให้พร้อมที่จะใส่อวัยวะเทียม
วิธีการพันแผล
การใช้ผ้าพันแผลชนิดม้วน
หลักการพัน
ตั้งต้นและจบผ้าพันรอบทุกครั้งเพื่อไม่ให้ผ้าหลุด
ต้องระวังไม่ให้ตำแหน่งที่เริ่มหรือจบผ้าไม่ตรงกับบริเวณที่เป็นแผล
พันผ้าจากส่วนเล็กไปส่วนใหญ่ พันเข้าหาผู้ป่วย
การพันแบบชนิดม้วน
การพันผ้าแบบเกลียวพับกลับ
ใช้พันเมื่อต้องการความอบอุ่นหรือต้องการแรงกด
การพันเป็นรูปเลข8
เหมาะสำหรับพ้นบริเวณข้อพับ
การพันแบบเกลียว
เหมาะสำหรับพันอวัยวะที่มีรูปทรงกระบอก
การพันแบบกลับไปกลับมา
เหมาะสำหรับพันเพื่อยึดผ้าปิดแผลที่ศีรษะ /ถูกตัดแขนขา
เพื่อบรรเทาอาการบวม ทำให้คงรูปทรงเดิมเตรียมต่อแขนขา
การพันแบบวงกลม
เหมาะสำหรับพันอวัยวะที่มีรูปทรงกระบอก
การใช้ผ้าสามเหลี่ยม
ขนาดผ้าที่ใช้ขึ้นอยุ่กับขนาดของตัวผู้ป่วยและอวัยวะที่จะพัน
ปัจจัยที่ทำให้เกิดแผลกดทับ ระยะของแผลกดทับ และการป้องกันแผลกดทับ
ระยะของแผลกดทับ
ระดับ2
ผิวหนังแดงเริ่มมีแผลเล็กๆ หนังแท้ถูกทำลายให้ฉีดขาด
เริ่มมีสารคัดหลั่ง
ระดับ3
แผลลึกถึงชั้นไขมัน แต่ไม่ถึงชั้นกล้ามเนื้อ
สารคัดหลั่งจากแผล มีกลิ่นเหม็น ไม่มีเนื้อตาย
ระดับ1
ผิวหนังแรงไม่มีการฉีกขาดของผิวหนัง ไม่จางหายภายใน30นาที
ระดับ4
แผลลึก เป็ฯโพรงถึงกล้ามเนื้อ กระดูก เยื่อหุ้มข้อ มีเนื้อตาย
การป้องกันการเกิดแผลกดทับ
การประเมินความเสี่ยงตามแบบประเมินความเสี่ยงของการเกิดแผลกดทับ
การเฝ้าระวังความเสี่ยงและควรการประเมินว้ำเมื่อมีปัจจัยเสี่ยง
มีไข้สูง เหงื่อออกมาก
ความรู้สึกตัวลดลง
ไม่สามารถควบคุมการขับถ่ายได้
มีภาวะพร่องโภชนาการ
ได้รับยาแก้ปวด ยาระงับชัก ยา steroid
การผ่าตัดนานกว่า3ชัวโมง
การใส่อุปกรณืทางการแพทย์ที่เป็นเหตุให้ผู้ป่วยเคลื่อนไหวลดลง
ลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับและเพิ่มปัจจัยเสริมการหายของแผล
การดุแลและคำแนะนำเรื่องยาที่ใช้ในการรักษา
การดูแลและคำแนะนำสำหรับผู้ป่วยที่ต้องใช้อุปกรณ์
การดูแลและคำแนะนำเรื่องอาหารและโภชนาการ
การดุแลช่วยเหลือผุ้ป่วยที่มีปัญหาการขับถ่ายปัสสาวะ/อุจจาระ
ให้การดูแลช่วยเหลือและคำแนะนำทั่วไป
ปัจจัยที่ส่งเสริมการเกิดแผลกดทับ
ภายนอกร่างกาย
แรงเสียดทาน
แรงเฉือน
แรงกด
ความชื้น
ภายในร่างกาย
ภาวะโภชนาการ
ยาที่ได้รับการรักษา
อายุ
การผ่าตัด
กระบวนการพยาบาล
การวางแผนการพยาบาล(Planning)
การให้การพยาบาล(Implementation)
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล(Nursing diagnosis)
การประเมินผล(Evaluation)
ประเมินภาวะสุขภาพ(Assessment)