Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่7 ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด, image, image, image, image,…
บทที่7 ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด
ยาต้านความดันโลหิตสูง (Antihypertensive drugs)
1.Diuretics
Hydrochlorothiazide (HCTZ)
กลไกการออกฤทธิ์ : เพิ่มการขับ potassium ions ทำให้ร่างกายสูญเสีย potassium ions
อาการข้างเคียง : ระดับ K+ ในเลือดต่ำทำให้หัวใจเต้นผิดจังหวะและอาจเสียชีวิตได้
Furosemide
กลไกการออกฤทธิ์ : เพิ่มอัตราการไหลเวียนเลือดทั่วไป
อาการข้างเคียง : ใช้ในขนาดสูงทำให้เกิดความเป็นพิษต่อหูได้ไม่ใช่ร่วมกับผู้ป่วยี่ได้รับยา digoxin
Spironolactone, Amiloride
กลไกการออกฤทธิ์ : มีการเก็บกลับpotassium ions เข้าสู่ร่างกาย ช่วยลดการสูญเสียpotassium ions
อาการข้างเคียง : อาจพบเต้านมโตในผู้ชาย ระดับ potassium ในเลือดสูง
✅การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับยาขับปัสสาวะ
ประเมินภาวะขาดน้ำ(dehydration)
ประเมินการเกิดภาวะ potassium ในเลือดต่ำ
ประเมินการเกิดภาวะpotassiumในเลือดสูง
ควรประเมินการได้ยิน การมองเห็น
ควรแนะนำให้จำกัดการรับประทำนอำหำรที่มี potassiumสูง
ACE Inhibitors
เป็นยาลดความดันโลหิต หรือ ตัว
ยับยั้ง Angiotensin-Converting Enzyme ใช้รักษาเบื้องต้นในการรักษาโรคความดันโลหิตสูงและ หัวใจล้มเหลวแบบเลือดคั่ง (congestive heart failure) ได้แก่ enalapril captopril perindopril quinapril
ผลของ ACE inhibitors
-ACE inhibitors ช่วยลดโรคไตวายจากเบาหวานหรือเบาจืด
-ลดความต้านทานของระบบหลอดเลือดแดง (arteriole)
-หัวใจฉีดเลือดได้มากขึ้น
ข้อบ่งใช้ของ ACE inhibitors
-ป้องกันโรคไตโรคเบาหวาน Diabetic nephropathy
-มีโปรตีนในปัสสาวะ Proteinuria/ Microalbuminuria
-โรคความดันโลหิตสูง (Hypertension)
-โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด Post-myocardial infarction
ข้อห้ามในการใช้(Contraindications)
-คนที่มีระดับPotassiumในเลือดสูง
-ไตวายรุนแรง
การใช้ยา ACE inhibitors ควรระมัดระวังเป็นพิเศษในคนไข้
-อาการไอ หากมีอาการมากให้ใช้ยากลุ่ม ARB
drugs แทนกลุ่ม ACE inhibitors
-ระดับ Potassium อาจจะสูงขึ้น
Angiotensin receptor antagonists
กลไกการออกฤทธิ์ : ออกฤทธิ์โดยการปิดกั้น
ตัวรับสารAngiontensin II (Angiotensin II receptor) ทำให้สารAngiontensin II ไม่สามารถออกฤทธิ์ ผลก็คือทำให้เส้นเลือดขยายตัว ความดันโลหิตลดลง
ได้แก่ Losartan, Olmesartan , Telmisartan, Valsartan, Irbesartan
ข้อบ่งชี้ในการใช้
-หัวใจล้มเหลวแบบเลือดคั่ง (Congestive heart failure)
-โรคความดันโลหิตสูง (Hypertension)
-ป้องกันโรคไตเสื่อม (nephropathy)
-ป้องกันโรคไตโรคเบาหวาน Diabetic nephropathy
-รับประทาน ACEI-แล้วเกิดอาการไอ
ข้อห้ามใช้
-ระดับ Potassium ในเลือดสูง (Hyperkalaemia)
อาการข้างเคียง(Adverse drug reactions)
-อาจมีอาการเวียนศีรษะ, หน้ามืด, ปวดศีรษะ, ง่วงนอน, ใจสั่น
-ท้องเสีย, ท้องอืด, คลื่นไส้
-อาจทำให้น้ำตาลในเลือดสูง
Beta blocker
กลไกการออกฤทธิ์ : ออกฤทธิ์โดยปิดกั้นการออกฤทธิ์ของสาร catecholamines ที่มีต่อ beta receptors ซึ่ง
มีอยู่ในเนื้อเยื่อหลายชนิด เช่น หัวใจ,หลอดเลือด,หลอดลม,มดลูก
(ซึ่งมี 2 ชนิดคือ beta1 พบในหัวใจ และ beta2 พบในเส้นเลือด,หลอดลมในปอด,มดลูก)
กลุ่มที่ปิดกั้นเฉพาะ beta1 เป็นหลักได้แก่ acebutolol, atenolol, bisoprolol, esmolol, and metoprolol เราเรียกยากลุ่มนี้ว่า cardioselective beta blocker
กลุ่มที่ปิดกั้นทั้ง beta1 และ beta2 ได้แก่ ยา propranolol, nadolol, penbutolol, pindolol, sotalol, timolol, carteolol and carvedilol เราเรียกยากลุ่มนี้ว่า nonselective beta blocker
ข้อบ่งใช้ยากลุ่ม Beta blocker
-ลดความดันโลหิต
-ใช้ลดอัตราการเต้นของหัวใจ
-สามารถใช้ป้องกันโรคปวดศีรษะไมเกรนได้
อาการข้างเคียงกลุ่ม beta blocker
ทำให้อาการหอบหืดกำเริบได้จากหลอดลมตีบตัว มักพบจากการใช้ยากลุ่ม
non-selective แต่ในกลุ่ม cardioselective beta blocker ก็อาจเกิดหลอดลมตีบได้ถ้าให้ยาในขนาดสูงๆ
Calcium Channel Blocker
: CCB เป็นยาต้านแคลเซียมไม่ให้เข้าสู่หัวใจ แคลเซียมดังกล่าวเป็นส่วนสำคัญในการหดตัวของหลอดเลือดแดง
กลุ่มโครงสร้างไดไฮโดรไพริดีน (Dihydropyridine) : ใช้ลดความดันของหลอดเลือดแดงและของหลอดเลือดดำใช้รักษาอาการหัวใจขาดเลือด ได้แก่ Amlodipine, Nifedipine, Felodipine
กลุ่มโครงสร้างฟีนิลแอลคิลเอมีน(Phenylalkylamine) : ใช้ลดความต้องการออกซิเจนในกล้ามเนื้อหัวใจ ได้แก่ Verapamil
กลุ่มโครงสร้างเบนโซไทอะซีปีน (Benzothiazepine) : ช่วยลดอัตราการทำงานของหัวใจและทำให้หลอดเลือดขยายตัว ได้แก่ Diltiazem
Calcium Channel Blocker : CCB มีสรรพคุณดังนี้
-รักษาภาวะหัวใจขาดเลือด (Angina)
-รักษาโรคความดันโลหิตสูง (Hypertension)
-รักษาอาการหัวใจเต้นเร็วผิดปกติ (Supraventricular tachycadia)
อาการข้างเคียง(Adverse drug reactions)
-ใจสั่นหัวใจเต้นเร็ว มักพบในยาNifedipine
-ความดันโลหิตต่ำ ขาบวม เป็นผลจากหลอดเลือดขยายตัว พบได้บ่อยในยา Amlodipine
ยาอื่นๆที่ใช้ลดความดันโลหิต
Direct-acting vasodilator
: เป็นยาออกฤทธิ์ที่เส้นเลือดแดงโดยตรง และทำให้ผนังเส้นเลือดแดงคลายตัวอย่างรวดเร็ว ยาในกลุ่มนี้ ถูกนำมาใช้บ่อยที่สุด ได้แก่ Hydralazine และ minoxidil
ยากลุ่ม Nitrates : ออกฤทธิ์ขยายทั้งหลอดเลือดแดงและหลอดเลือดดำได้แก่
-Nitroglycerine หรือ Glyceryl Tri-Nitrate ซึ งมีในรูปของ Sublingual, Intravenous และTransdermal เพื่อให้ออกฤทธิ์ได้เร็ว
-Isosorbide Di-Nitrate ซึ่งจะต้องเปลี่ยนเป็น Mono-Nitrate ที ตับก่อน
-Isosorbide Mononitrate จะเปลี่ยนเป็น NO ได้ที่ระดับ Blood Vessel เลยโดย ไม่ต้องผ่านการเปลี่ยนแปลงที่ตับ
ยาต้านหัวใจผิดจังหวะ
ยาที่ใช้บ่อย Aspirin, Diltiazem, Verapamil, amiodarone,
propranolol, digoxin, warfarin
Amiodarone
กลไกการออกฤทธิ์ : ออกฤทธิ์ยับยั้งการกระตุ้นและเพิ่มระยะเวลาการทำงานของ
กล้ามเนื้อหัวใจอีกทั้งยังไปลดกระบวนการของ Sinus nodeที่ เป็นเหตุทำให้หัวใจเต้นช้าลง
Digoxin
ใช้รักษาโรคหัวใจ เช่น ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ (Artrial Fibrillation) ภาวะหัวใจล้มเหลว(Heart Failure)
อาการไม่พึงประสงค์ การมองเห็นภาพไม่ชัดเจนหรือเห็นภาพเป็นสีเขียวเหลือง
ยาลดระดับไขมันในเลือด
ยาที่ใช้สำหรับภาวะไขมันในเลือดสูงมีอยู่หลายกลุ่ม ได้แก่
-ยากลุ่ม statins เช่น simvastatin , atrorvastatin, rosuvastatinยากลุ่มนี้สามารถลดโคเลสเตอรอลได้ดี ลดไตรกลีเซอไรด์ได้เล็กน้อย
-ยากลุ่ม fibric acids derivatives เช่น gemfibrozil , fenofibrate , bezafibrate ยาก
ลุ่มนี้สามารถลดไตรกลีเซอไรด์ได้ดี ลดโคเลสเตอรอลได้เล็กน้อย
-ยากลุ่ม nicotinic acid และ analogue เช่น niacin , acipimox ยากลุ่มนี้สามารถลดไตรกลีเซอไรด์ได้ดี ลดโคเลสเตอรอลได้เล็กน้อย
-ยากลุ่ม bile acid sequestrants เช่น cholestyramine ยากลุ่มนี้ลดเพียง
ผลข้างเคียงของยา
-ผู้ป่วยบำงรำยที ได้รับยำกลุ่ม statins และ fibric acids deri
vatives อำจต้องตรวจกำรท ำงำนของตับเป็นครั้งครำว และบำงรำยอำจมีอำกำรปวดเมื อยกล้ำมเนื้อ จนเดินไม่ไหว
-ยำกลุ่ม nicotinic acid และ analogue อำจท ำให้มีอำกำรคันและร้อนวูบวำบ