Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โภชนาการสำหรับผู้สูงอายุ - Coggle Diagram
โภชนาการสำหรับผู้สูงอายุ
ภาวะทุพโภชนาการ
ภาวะที่ได้รับสารอาหารเกินหรือต่ำกว่ามาตรฐาน
ภาวะทุพโภชนาการ
มีปัจจัยเสี่ยง 2 อย่าง
ได้รับอาหารที่จำเป็นไม่เพียงพอ ทำให้น้ำหนักลดลง
ความผิดปกติของการดูดซึมและการนำสารอาหารไปใช้
ดัชนีมวลกาย น้อยกว่า 18.5 kg/m2
บุคคลที่เสี่ยงคือบุคคลที่รับประทานอาหารน้อยหรือไม่รับประทานอาหารเลยมากกว่า 5 วัน
น้ำหนักลดลงโดยไม่ตั้งใจมากกว่า 10% ในเวลา 3-6เดือน
ผลกระทบต่อภาวะโภชนาการ
พร่องต่อผู้สูงอายุ
เสี่ยงในการติดเชื้อมากขึ้น
แผลหายช้า
ซึมเศร้า หดหู่
ระบบหายใจบกพร่องเพราะกล้ามเนื้อ่อนแรง
การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกายที่มี
ผลต่อภาวะโภชนาการ
ตามองไม่ค่อยเห็น จมูกไม่ได้กลิ่น
ได้กลิ่นที่ผิดปกติ ฟันผุไม่มีฟัน
การบีบตัวของลำไส้และกระเพาะทำงานลดลง
การรับรู้รสชาดเสื่อมลง การหลั่งกรดในกระเพาะลดลง
การหลั่งน้ำย่อยจากตับอ่อนลดลง และการไหลเวียนเลือดที่ตับลดลง
ความต้องการสารอาหารในผู้สูงอายุ
พลังงาน
ผู้สูงอายุต้องการน้อยกว่าคนทั่วไปเพราะเมทาบอลิซึม
และกิจกรรมต่างๆลดลง
ไม่เกินวันละ 2,250และ1,850 กิโลแคลอรี่
โปรตีน
โปรตีนที่มีคุณค่าคือเนื้อสัตว์ที่ย่อยง่ายและไม่ติดมัน
ดื่มนมอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3แก้ว
ไข่สัปดาห์ละ 3 ฟอง
ความต้องการโปรตีนจะเพิ่มขึ้นเมื่อ เครียด บาดเจ็บ ติดเชื้อ
ไขมัน
สาเหตุการตายที่พบบ่อยคือ โรคหัวใจ มะเร็ง หลอดเลือดสมอง ที่สัมพันธ์กับระดับไขมันในเลือด
ร่างกายต้องการในปริมาณน้อย
ขนส่งวิตามินที่ละลายในไขมัน คือ เอ ดี อี เค
ควรลดการบริโภคไขมันอิ่มตัว เช่น น้ำมันหมู เนย เนื้อหมูและเนื้อวัว และควรลดอาหารที่มีคอลเรสเตอรอลสูง เช่น ไข่ปลา มันสมอง หอยนางรม
คาร์โบไฮเดรต
ความทนต่อกลูโคสลดลง มีโอกาสเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดสูง
เอนไซม์แลคเตสลดลง มีโอกาสเกิดภาวะท้องอืด เป็นตะคริว
ควรดื่มนมเปรี้ยว โยเกิร์ต
ควรได้รับเส้นใยอาหารวันละ 20-30 กรัม ป้องกันภาวะไขมันในเลือดสูงและมะเร็งลำไส้ใหญ่
วิตามิน
A
รักษาสายตาไม่ให้เสื่อมสภาพ
พบมากในไขมันสัตว์ ได้แก่ น้ำมันตับปลา ผักผลไม้สีเหลือง
ผู้สูงอายุทนต่อวิจามินเอลดลงแต่ดูดซึมมากขึ้นที่ลำไส้
D
ควบคุมแคลเซียมและฟอสฟอรัส มีส่วนสำคัญในการสร้างกระดูก
ช่วยดูดซึมแคลเซียมและฟอสฟอรัส
พบมากใน แซลมอน ทูน่า และน้ำมันตับปลา
E
ต้านออกซิเดชั่น ชะลอกระบวนการที่เสื่อมถอยและอนุมูลอิสระ
ระดับวิตมินอีมีความสัมพันธ์กับระดับไขมันในร่างกาย
อาหารที่พบวิตามินอีมากได้แก่ อะโวคาโด เมล็ดทานตะวัน เนยถั่ว งา
K
มีผลต่อการแข็งตัวของเลือด
พบมากในผักใบเขียว ผลไม้และธัญพืช
แบคทีเรียในลำไส้สามารถสังเคราะห์วิตามินเคได้
C
สำคญต่อการสร้างระดูก เลือด คอลลาเจน
เป็นสารต้านมะเร็ง
ปัจจัยที่ทำให้ต้องการวิตามินซีมากขึ้นคือ การสูบบุหรี่ ยาบางชนิด
B1 (Thaiamine)
ผู้สูงอายุมีแนวโน้มที่จะขาดวิตามินบี1 เพระาน้ำย่อยในกระเพาะลดลง
ผู้สูงอายุที่ขาดวิตามินบี1 มีสาเหตุมาจากโรคพิษสุราเรื้อรัง
B2 (Ribroflavin)
มีความเกี่ยวข้องกับปฏิกิริยาออกซิเดชั่น
พบในอาหารประเภท เนื้อ นม ไข่
ถูกขับออกทางปัสสาวะมากขึ้น เมื่อทานยาไทอะไซด์
B6
สังเคราะห์ที่ลำไส้ได้ลดลง
หากได้รับไม่พอจะมีภาวะซึมเศร้า หงุดหงิดง่าย ชา ซีด เกิดได้
ควรได้รับเพิ่มมากขึ้น ซึ่งมีมากในเนื้อหมูและธัญพืช
B12
จำเป็นต่อการสังเคราะห์ ดีเอนเอ
หากขาดไปจะทำให้การสร้างเม็ดเลือดแดงผิดปกติ เกิดภาวะซีด
ในผู้สูงอายุมีวิตามินบี12 ในเลือดต่ำจากการดูดซึมและการเติบโตของแบคทีเรียที่น้อยลง
คนที่เคร่งมังสวิรัตมาก จะขาดวิตามินบี12
เกลือแร่
โฟเลท
pH ในลำไส้เพิ่มขึ้นและการดูดซึมที่ผิดปกติจากการอักเสบของกระเพาะอาหาร ทพให้ขาดโฟเลท
เมื่อขาดโฟเลททำให้เกิดภาวะซีด
อาหารที่โฟเลทมาก ได้แก่ ผักใบเขียว ตับ เนื้อสัตว์
แคลเซียม
การดูดซึมลดลง และการขาดการได้รับแคลเซียม
แหล่งอาหารที่พบแคลเซียม ได้แก่ นม ปลาเล็ก เต้าหู้ ผักใบเขียว เนื้อสัตว์
เหล็ก
การดูดซึมธาตุเหล็กได้ดีต่อเมื่ออยู่ในภาวะที่เป็นกรด
อาหารที่มีธาตุเหล็กมาก ได้แก่ ไข่ ถั่วเมล็ดแห้ง เม็ดบัว
หากมีภาวะซีดก็ควรให้ยาเสริม
สังกะสี
ผู้สูงอายุที่ขาดสังกะสี ทำให้รับรสรับกลิ่นได้ไม่ดี
อาหารที่พบสังกะสีได้มาก ได้แก่ ไข่ ตับ เนื้อแดงและอาหารทะเล
หลักการจัดอาหารในผู้สูงอายุ
ลดจำนวนพลังงานลง ได้แก่ คาร์โบไฮเดตร ไขมัน ของพลังงานทั้งหมดตามอายุที่เพิ่มขึ้น
ลดอาหารที่ให้พลังงานสูง เช่น ขนมเค้ก ของเชื่อง ของหวาน และอาหารไขมันสูง เช่น ของทอดและแกงกะทิ
ไม่รับประทานน้ำตาลทรายมากเกินไป
โปรตีน คือ ทานไข่ขาววันละ 1 ฟอง
ใช้น้ำมันพืชที่มีกรดไลโนไลอิก
งดดื่มเหล้าและสูบบุหรี่ หรือแม้กระทั่งการดื่มชา กาแฟ
ควรดื่มน้ำวันละ 1.5 ลิตร