Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 กระบวนการพยาบาล NURSING PROCESS - Coggle Diagram
บทที่ 1
กระบวนการพยาบาล
NURSING PROCESS
บทนำ
กระบวนการพยาบาล
1.1 ความหมายของกระบวนการพยาบาลกระบวนการที่พยาบาลใช้เป็นเครื่องมือในการดูแลผู้รับบริการ ครอบครัวและชุมชนโดยมีขั้นตอนตามหลักวิทยาศาสตร์ แสดงให้เห็นความเป็นวิชาชีพภายใต้ความเชื่อความรู้จากศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อส่งเสริมสุขภาพในผู้ที่สุขภาพดี ป้องกันและแก้ไขหรือบรรเทา
แนวคิดกระบวนการพยาบาล เป็นเครื่องมือที่สำคัญในการปฏิบัติการพยาบาลที่ช่วยได้รับบริการที่มีคุณภาพเนื่องจากเป็นแนวทางในการปฏิบัติอย่างมีรูปแบบ เป็นขั้นตอนที่ต่อเนื่อง และมีความสัมพันธ์
กระบวนการพยาบาล
NURSING PROCESS
1.2 ขั้นตอนของกระบวนการพยาบาล
กระบวนการพยาบาล ประกอบด้วยขั้นตอนต่างๆ ที่เป็นวงจร ต่อเนื่อง และมีความสัมพันธ์กัน 5 ขั้นตอน โดยใช้ตัวย่อ ADPIE แทน
Assessment
Diagnosis
Planning
Implementation
Evaluation
1.3 ความสำคัญของกระบวนการพยาบาล
กระบวนการพยาบาลช่วยให้การปฏิบัติพยาบาลมีคุณภาพมาตรฐาน -การใช้กระบวนการพยาบาลในการปฏิบัติงานยังช่วยให้ พยาบาลทราบถึงเป้าหมายของการพยาบาลชัดเจน ช่วยให้การดูแลผู้ป่วยได้ครอบคลุมและต่อเนื่อง
กระบวนการพยาบาลส่งเสริมให้พยาบาลมีทักษะในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
-การใช้กระบวนการพยาบาลในการปฏิบัติงาน จะช่วยให้พยาบาลได้ฝึกทักษะการใช้
ความคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical thinking)
กระบวนการพยาบาลช่วยในการสื่อสารของทีมการพยาบาลให้มีประสิทธิภาพ
-การใช้กระบวนการพยาบาลในการปฏิบัติงานทำให้ทีมการพยาบาลมีความเข้าใจตรงกัน
กระบวนการพยาบาลแสดงถึงเอกลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล
-ทำให้พยาบาลวิชาชีพมีความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของตนเองมากขึ้น
กระบวนการพยาบาลช่วยให้การมอบหมายงานได้เหมาะสมกับสถานการณ์
-ช่วยให้มีการแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ และได้รับข้อเสนอแนะจากผู้ร่วมงาน
กระบวนการพยาบาลส่งเสริมให้มีการพัฒนาวิชาชีพ
-มีส่วนส่งเสริมให้พยาบาลมีการทำวิจัย
มากขึ้น
1.2 ขั้นตอนของกระบวนการพยาบาล
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health
Assessment)
1.1 การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data
Collection)
1.2 การวิเคราะห์ข้อมูล (Analysis of
Data)
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing
Diagnosis)
2.1 การกำหนดข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
(Defined Nursing Diagnosis)
2.2 การกำหนดข้อมูลสนับสนุน (Defined
data support)
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
3.1 การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา
(Priority)
3.2 การกำหนดเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ของ
การพยาบาล (Goal/Objective)
3.3 การกำหนดเกณฑ์การประเมินผลการพยาบาลหรือผลลัพธ์ที่คาดหมาย
(Desired/ Expected Out come)
3.4 การกำหนดกิจกรรมการพยาบาล
(Nursing activity)
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
4.1 การปฏิบัติการพยาบาลตามแผนการพยาบาล
4.2 การบันทึกทางการพยาบาล (Nursing
documentation)
การประเมินผลการพยาบาล(Evaluation)
1.4 ปัญหาการใช้กระบวนการพยาบาลและแนวทางแก้ไข
นักศึกษาขาดความรู้ความเข้าใจและทักษะการใช้
กระบวนการพยาบาลในการปฏิบัติงาน
การใช้กระบวนการพยาบาลในการปฏิบัติงาน ยังมีปัญหาอุปสรรคอยู่มากทั้ง
ของนักศึกษาพยาบาลและพยาบาลวิชาชีพ
นักศึกษายังมีทัศนคติในเชิงลบต่อการใช้
กระบวนการพยาบาล
สิ่งอำนวยความสะดวกมีไม่เพียงพอ เช่นแบบฟอร์มบันทึกการพยาบาลมีการบันทึกซ้ำซ้อนกัน ไม่มีรูปแบบการบันทึกทางการ
การขาดความตระหนักถึงความสำคัญ และคุณค่าของการใช้กระบวนการพยาบาล
แนวทางแก้ไข
ฝ่ายการศึกษา 1.ควรจัดการเรียนการสอนทั้งรายวิชาภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติเน้นให้นักศึกษาคิดวิเคราะห์ และฝึกประสบการณ์ในการวินิจฉัยการพยาบาลมากขึ้น
ผู้สอน ควรปลูกฝังทัศนคติที่ดีต่อการเรียนกระบวนการพยาบาลให้แก่นักศึกษา
ควรมีการพัฒนาอาจารย์ให้มีความเข้าใจในแต่ละขั้นตอนของกระบวนการพยาบาล
ฝ่ายบริการพยาบาล
-ควรจัดจ านวนบุคลากรให้มีสัดส่วนพอเหมาะกับจำนวนผู้ป่วย
-ควรมีการจัดอบรมให้ความรู้
-ควรจัดให้มีเอกสาร ตำรา
-ควรส่งเสริมการทำวิจัย
1.5 กรอบแนวคิดที่ใช้ในกระบวนการพยาบาล
1.5.1 กรอบแนวคิดของแนนดา (NANDA)
NANDA เป็นสมาคมวินิจฉัยการพยาบาลแห่งอเมริกาเหนือ (The North
American Nursing Diagnosis Association)ในปัจจุบันได้แบ่งเป็น 13 ด้าน
1.5.2 กรอบแนวคิดแบบแผนสุขภาพของกอร์ดอน (Gordon)มาร์จอรีย์กอร์ดอน (Marjory Gordon, 1994)
ได้นำกรอบแนวคิดเกี่ยวกับแบบแผนสุขภาพมาเป็นแนวทางในการประเมินภาวะสุขภาพของบุคคล ครอบครัวและชุมชน รวมทั้งกำหนดข้อวินิจฉัยการพยาบาลตามแนวทางการประเมิน
1.5.3 กรอบแนวคิดระบบการจ าแนกการปฏิบัติการพยาบาลระดับสากล
(International Classification for Nursing Practice, ICNP)
การจำแนกปรากฏการณ์ทางการพยาบาล 1) จุดเน้นการปฏิบัติการพยาบาล (Focus of nursing
practice) หมายถึง สิ่งที่เกิดขึ้นกับผู้บริการ
2) การตัดสิน (Judgment) หมายถึง การตัดสินความรุนแรง
ของปรากฏการณ์ทางการพยาบาล
3) ความบ่อย (Frequency) หมายถึง จำนวนครั้งในการเกิด
ปรากฏการณ์ทางการพยาบาล
4) ระยะเวลา (Duration) หมายถึง ระยะเวลาที่เกิด
5) อวัยวะของร่างกาย (Body site) หมายถึง ต าแหน่ง
ของอวัยวะต่างๆ
6) อาณาบริเวณ (Topology) หมายถึง ความกว้างของ
บริเวณที่เกิดปรากฏการณ์ทาง
7) โอกาสเกิด (Likelihood) หมายถึง โอกาสเกิด
ปรากฏการณ์ทางการพยาบาล
8) การกระจาย (Distribution) หมายถึง ผู้ที่ได้รับผล
จากการเกิดปรากฏการณ์ทาง
ปัจจุบันมีการนำกรอบแนวคิดต่างๆ มาใช้ในการประเมินภาวะสุขภาพและ
กำหนดข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่หลากหลาย
-กรอบแนวคิดความต้องการพื้นฐานของมาสโลว์(Maslow)
-กรอบแนวคิดของแนนดา (NANDA)
-กรอบแนวคิดแบบแผนสุขภาพของกอร์ดอน (Gordon)
-กรอบแนวคิดระบบการจำแนกการปฏิบัติการพยาบาลระดับสากล(ICNP)
-กรอบแนวคิดทฤษฎีการพยาบาลต่างๆ เช่นทฤษฎี การพยาบาลของรอย(Roy) ทฤษฎีการพยาบาลของโอเร็ม (Orem)