Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 นันทนาการเพื่อผู้สูงอายุ - Coggle Diagram
บทที่ 7
นันทนาการเพื่อผู้สูงอายุ
:star:นันทนาการ
•เป็นกิจกรรมที่ทำในยามว่างที่ผู้เข้าร่วมมีอิสระในการตัดสินใจเลือกปฏิบัติด้วยตนเอง เพื่อก่อให้เกิดอารมณ์ที่ผ่อนคลาย และสนุกสนานเพลิดเพลินกับตนเองและกลุ่ม
:star:ประเภทและลักษณะนันทนาการที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุ
🎃การออกกำลังกายและกีฬา
-มีประโยชน์ทั้งการชะลอการเสื่อมและป้องกันความพิการ
-การออกกำลังกายเพื่อเพิ่มการไหลเวียนเลือด เช่น การเดิน ว่ายน้ำ
-การออกกำลังเพื่อเพิ่มการแข็งแรงของกล้ามเนื้อ เช่น กายบริหารโดยใช้ยางยืด
-การออกกำลังกายเพื่อเพิ่มการยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อและข้อต่อ เช่น ไทเก๊ก โยคะ
🎃กีฬา
-เป็นกิจที่แสดงถึงความสามารถและความสวยงามขณะเคลื่อนไหวร่างกายตามกติกาของกีฬาประเภทนั้นๆ
-ควรเน้นรูปแบบที่ใช้กำลังพอสมควร ไม่มีการปะทะ ไม่มีการเหวี่ยงหรือกระแทก
-ไม่มีการแข่งขัน ไม่เร่งรีบ
เช่น หมากรุก เปตอง กอล์ฟ ตะกร้อลอดบ่วง
🎃เกมส์
-เกมส์ไม่มีกฎกติกาที่ซับซ้อน
-รูปแบบเกมส์ควรเปิดโอกาสให้ผู้สูงอายุปฏิสัมพันธ์กับกลุ่ม เช่น การแนะนำตัว
-ส่งเสริมให้แสดงความคิดเห็นในการทำกิจกรรมให้สนุกสนานมากกว่าการเอาชนะ
-ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุให้สรุปประโยชน์ของกิจกรรม
-เช่น เกมส่งของ เกมโฆษณาขายของ เกมส์คอมพิวเตอร์ ช่วยชะลอภาวะสมองเสื่อม
🎃การปลูกต้นไม้
-เป็นกิจกรรมที่ให้ความเพลิดเพลิน
-เป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ผู้สูงอายุได้ทำร่วมกับครอบครัว
🎃งานศิลปะและหัตถกรรม
-ส่งเสริมการประสานงานของกล้ามเนื้อมัดเล็ก
-ทำงานฝีมือเพื่อประดิษฐ์สิ่งของ เช่น เย็บปักถักร้อย
-เพิ่มความรู้สึกที่มีคุณค่าแห่งตนได้ หากผู้สูงอายุได้มอบงานฝีมือนั้นแก่ผู้อื่น
🎃การสะสม
-เป็นกิจกรรมที่ผู้สูงอายุสะสมสิ่งของที่ชอบและสนใจ ทำให้มีความสุข
-ความช่างสังเกต ความจำ เกิดความรู้และความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน
-เมื่อมีให้คนอื่นชื่นชมจะทำให้เกิดความภาคภูมิใจ
-เช่น แสตมป์ พระเครื่อง บัตรโทรศัพท์ เหรียญเงินในสมัยต่างๆ
🎃การทำอาหาร
-ควรเลือกประเภทอาาหรที่เหมาะสม
-ทำให้เพลิดเพลิน รับความรู้ทางโภชนาการและการเข้าสังคม
-เกิดการสร้างสรรค์ในกลุ่มและความภาคภูมิใจที่ทำอาหารสำเร็จ
🎃การร้องเพลง เล่นดนตรี เต้นรำ และการแสดง
-เป็นสิ่งกระตุ้นให้ผู้สูงอายุรำลึกถึงวัยหนุ่มสาว
-กิจกรรมประเภทนี้จะให้ความเพลิดเพลิน และผ่อนคลายความเครียด
-เช่น ร้องเพลง รำวง เซิ้ง และลีลาศ
🎃การเขียน อ่าน สนทนา และโต้วาที
-เช่น การเขียนบันทึกประจำวัน การเขียนบทกวี การเขียนเรื่องสั้น
เช่นการอ่านหนังสือพิมพ์
-ซึ่งมีขนาดอักษรเหมาะสมกับสายตา
-สามารถเสริมทักษะทางภาษาและการสื่อสาร
🎃งานประเพณีและวัฒนธรรม
-เช่น งานบุญในชุมชน งานเทศกาลต่างๆ
-สามารถกระตุ้นให้ผู้สูงอายุเห็นความสำคัญของตนเอง เช่น งานวันเกิด
-กระตุ้นให้ผู้สูงอายุรับรู้วัน เวลา สถานที่ได้
🎃กิจกรรมศาสนา
-ควรหลีกเลี่ยงการเรี่ยไรเงินบริจาคจากผู้สูงอายุ
-เน้นการทำกิจกรรม เช่น สวดมนต์ ทำสมาธิ
🎃การท่องเที่ยว
-ข้อจำกัด คือ สภาพร่างกายและเศรษฐกิจ
-ควรคำนึงถึงความปลอดภัย และสิ่งอำนวยความสะดวกในการเดิน
-เลือกการเดินทางที่ประหยัดและปลอดภัย เช่น รถไฟ
-เลือกสถานที่ท่องเที่ยวซึ่งไม่เก็บค่าเข้าชมหรือเก็บค่าเข้าชมเพียงครึ่งเดียว เช่น วัด พิพิธภัณฑ์
🍉กิจกรรมนันทนาการที่มีประโยชน์ด้านร่างกาย
:star:วัตถุประสงค์
-ส่งเสริมความแข็งแรง และความทนทาน เช่น ว่ายน้ำ เดินมาราธอน
-ส่งเสริมการทำงานของระบบประสาทสัมผัส เช่น เกมเสียงปริศนา ปิดตาชิมรสทายชื่ออาหาร
-ส่งเสริมการประสานความสัมพันธ์ของร่างกาย เช่นเปตอง ยิงปืน รำวง ลีลาศ
-ส่งเสริมประสิทธิภาพการทรงตัว เช่น กายบริหาร โยคะ เต้นรำ
-ส่งเสริมความอ่อนตัว เช่น งานศิลปและหัตถกรรม การออกกำลังกาย เต้นรำ
-ส่งเสริมความผ่อนคลาย เช่น การออกกำลังกาย
🍉กิจกรรมนันทนาการที่มีประโยชน์ด้านจิตใจ อารมณ์ และการรับรู้ของผู้สูงอายุ
:star:วัตถุประสงค์
-ส่งเสริมความมั่นใจและคุณค่าของตนเอง
-ระบายความคับข้องใจ
-ส่งเสริมสมา และความสุขสงบทางจิตใจ
🍉กิจกรรมนันทนาการที่มีประโยชน์ด้านสังคมของผู้สูงอายุ
:star:วัตถุประสงค์
-ส่งเสริมการแสดงออกทางสังคม
-ส่งเสริมการมีปฏิสัมพันธ์ในสังคม
🍉กิจกรรมนันทนาการที่มีประโยชน์ด้านสติปัญญา
-ส่งเสริมความรู้และประสบการณ์
-ส่งเสริมทักการสื่อความหมาย
-ส่งเสริมทักแบะการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า