Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 การประเมินภาวะสุขภาพ (Health Assessment) - Coggle Diagram
บทที่ 2 การประเมินภาวะสุขภาพ
(Health Assessment)
2.1 การเก็บรวบรวมข้อมูล
2.1.1 ชนิดของข้อมูล
1) ข้อมูลอัตนัย (Subjective data)
ี่ได้จากการซักประวัติการสัมภาษณ์
และการบอกเล่าของผู้รับบริการหรือบุคคลที่เกี่ยวข้อง
2) ข้อมูลปรนัย (Objective data)
จากการสังเกต,การตรวจร่างกาย,อาการแสดง “Signs”
2.1.2 แหล่งของข้อมูล
(1)ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary source data)
การสังเกตการสัมภาษณ์หรือการซักประวัติอาการแสดง
เชื่อถือได้มากที่สุด
การวัดประเมินด้วยเครื่องมือ
(2) ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary source data)
เป็นข้อมูลที่พยาบาล
เก็บรวบรวมได้จากแหล่งอื่น ๆ นอกเหนือจากผู้รับบริการ
ข้อมูลทุติยภูมิ จะช่วยสนับสนุนความแม่นตรงของข้อมูล
2.1.3 วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
2.1.3.1 การสังเกต
การดู
การฟัง
การดมกลิ่น
การลิ้มรส
การสัมผัสด้วยมือ
สิ่งที่ควรสังเกต
(1) ลักษณะทั่วไปของผู้รับบริการ
(2) สีหน้า น้ำเสียง และการพูดคุย
(3) พฤติกรรมที่ผู้รับบริการแสดงออก
(4) กิจกรรมต่างๆหรือกิจวัตรประจ าวันที่ผู้รับบริการ
ปฏิบัติ
(5) อาการแสดง (Signs) ต่างๆของผู้ป่วย
2.1.3.2 การซักประวัติ (History taking)
หลักทั่วไปของการซักประวัต
ผู้ชักประวัต
ควรแต่งกายสะอาดเรียบร้อย
ีบุคลิกที่ดีน่าเชื่อถือ
ใช้น้ำเสียงอ่อนโยน
ไม่พูดเร็วหรือช้าเกินไป
จัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับการซัก
ประวัต
จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าที่สบาย
วิธีการซักประวัต
3.1 การสร้างสัมพันธภาพ
กับผู้รับบริการ
3.2 การสื่อสารการฟัง
การสื่อสารโดยใช้คำพูด
การใช้คำถาม
การกล่าวนำ
การสะท้อนความรู้สึก
การทำความกระจ่าง
การเน้น
การใช้ความเงียบ
การสรุป
การสื่อสารโดยไม่ใช้คำพูด
การใช้ภาษาทางกายโดยการแสดงกิริยาท่าทาง
3.3 การบันทึก
การเตรียมตัวก่อนการซักประวัติ
ศึกษาข้อมูลของผู้รับบริการ
ศึกษาแบบฟอร์มหรือกรอบแนวคิดในการซักประวัติ
วางแผนการซักประวัติ
2.1.3.3 การตรวจร่างกาย (Physical examination)
2.1.3.4 การประเมินการตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
2,2 การตรวจร่างกาย
2.2.1. เทคนิคการตรวจร่างกาย
2.2.2. เครื่องมือในการตรวจร่างกาย
2.3 การบันทึกผลการตรวจร่างกาย
การประเมินภาวะสุขภาพ
การเก็บรวบรวม
ข้อมูล (Data Collection)
เกี่ยวกับภาวะสุขภาพเพื่อค้นหาปัญหา
ด้านสุขภาพหรือความต้องการของผู้รับบริการแล้วนำข้อมูลที่รวบรวมได้ทั้งหมดมาวิเคราะห์ (Analysis of Data)
ขั้นตอนการซักประวัติ
ขั้นตอนเริ่มต้นการสนทนา
เป็นขั้นตอนที่พยาบาลสร้างความคุ้นเคยสร้างสัมพันธภาพที่ด
ขั้นตอนสนทนาเนื้อหา
เป็นขั้นตอนที่พยาบาลซักถามข้อมูล
ขั้นตอนสิ้นสุดการสนทนา
่เมื่อสิ้นสุดการซักประวัติ
ควรมีการสรุปการซักประวัติอย่างสั้น ๆ
การซักประวัติสุขภาพ
ข้อมูลส่วนบุคคลหรือประวัติส่วนตัว (Patient profile or Personalhistory)
อาการส าคัญ (Chief complaints ตัวย่อ C.C.
เป็นอาการหลักหรือเป็นอาการที่เป็นปัญหาหรือสาเหตุที่ทำให้ผู้ป่วย
หรือญาติต้องพาผู้ป่วยมารับการรักษารวมถึงระยะเวลาตั้งแต่เริ่มมีอาการสำคัญจนถึงเวลาที่มาโรงพยาบาล
ประวัติเจ็บป่วยในครอบครัว (Family history ตัวย่อ F.H. )
ประวัติเจ็บป่วยปัจจุบัน (Present ilness ตัวย่อ P .I. )
เป็นอาการที่ขยาย
รายละเอียดจากอาการสำคัญ
ประวัติเจ็บป่วยในอดีต (Past history ตัวย่อ P.H. )
ประวัติการมีโรคประจำตัว
การซักประวัติตามกรอบแนวคิดที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
กรอบแนวคิดที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล
ผู้ชักประวัต
ความสามารถในการซักประวัติหรือสัมภาษณ์ผู้รับบริการ
11 แบบแผนของ กอร์ดอน
แบบแผนที่ 1 การรับรู้และการดูแลสุขภาพ
บบแผนที่ 2 โภชนาการและการเผาผลาญสารอาหาร
แบบแผนที่ 3 การขับถ่าย
แบบแผนที่ 4 กิจวัตรประจำวันและการออกกำลังกาย
แบบแผนที่ 5 การพักผ่อนนอนหลับ
แบบแผนที่ 6 สติปัญญาและการรับรู
แบบแผนที่ 7 การรู้จักตนเองและอัตมโนทัศน
แบบแผนที่ 8 บทบาทและสัมพันธภาพ
แบบแผนที่ 9 เพศและการเจริญพันธุ์
บบแผนที่ 10 การปรับตัว และการเผชิญกับความเครียด
แบบแผนที่ 11 ความเชื่อ