Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 การประเมินภาวะสุขภาพ Health Assessment, 119886392_943349336174945…
บทที่ 2 การประเมินภาวะสุขภาพ
Health Assessment
การประเมินภาวะสุขภาพ(Health Assessment)
การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
วิเคราะห์ข้อมูล (Analysis of Data)
สรุปปัญหาของผู้รับบริการ
แหล่งของข้อมูล (Source of data)
(1)ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary source data)
• ข้อมูลจากการตรวจร่างกาย
• การวัดประเมินด้วยเครื่องมือชนิดต่างๆของผู้รับบริการ
• การสังเกตการสัมภาษณ์หรือการซักประวัติสุขภาพจากผู้รับบริการโดยตรง
** ข้อมูลปฐมภูมิจึงถือว่าเป็นข้อมูลที่เชื่อถือได้มากที่สุด
(2)ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary source data)
•ผู้พบเห็นเหตุการณ์ทีมสุขภาพข้อมูล
•จากรายงานหรือเวชระเบียนของผู้ป่วยข้อมูล
•การบันทึกทางการพยาบาล
•ข้อมูลจากรายงานผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษต่างๆ
•ข้อมูลจากบุคคลในครอบครัวญาติผู้ใกล้ชิด
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล (Method of data collection)
1.การสังเกต (Observation)
(3) พฤติกรรมที่ผู้รับบริการแสดงออก
(4) กิจกรรมต่างๆหรือกิจวัตรประจำวันที่ผู้รับบริการ
(2) สีหน้า น้ำเสียง และการพูดคุย
(5) อาการแสดง (Signs) ต่างๆของผู้ป่วย
(1) ลักษณะทั่วไปของผู้รับบริการ
4.การเก็บรวบรวมข้อมูลจากการตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
3.การตรวจเสมหะ
4.การตรวจชิ้นเนื้อ
2.การตรวจปัสสาวะ
5.การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (EKG)
1.การตรวจเลือด
2.การสัมภาษณ์หรือการซักประวัติ
1.ปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อการซักประวัติ
1.สภาพของผู้รับบริการ
3.สภาพแวดล้อมในการสัมภาษณ์
บุคลิกลักษณะของพยาบาล
2.หลักทั่วไปของการซักประวัติ
จัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับการซักประวัติ
3.จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าที่สบาย
ผู้ชักประวัติ
ควรกำหนดวัตถุประสงค์ของการซักประวัติไว้ล่วงหน้า
5.ควรมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมของบุคคลภาวะสุขภาพภาวะเจ็บป่วยต่างๆรวมทั้งปัจจัยอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
3.วิธีการซักประวัติผู้รับบริการ
การสื่อสารการฟัง
3.การบันทึก
1.การสร้างสัมพันธภาพกับผู้รับบริการ
4.การเตรียมตัวก่อนการซักประวัติ
ศึกษาแบบฟอร์มหรือกรอบแนวคิดในการซักประวัติ
วางแผนการซักประวัติ
ศึกษาข้อมูลของผู้รับบริการ
5.ขั้นตอนการซักประวัต
ขั้นตอนสนทนาเนื้อหา
ขั้นตอนสิ้นสุดการสนทนา
1.ขั้นตอนเริ่มต้นการสนทนา
6.การซักประวัติสุขภาพ
3.ประวัติเจ็บป่วยปัจจุบัน (Present illness ตัวย่อ P.I. )
4.ประวัติเจ็บป่วยในอดีต (Past history ตัวย่อ P.H. )
อาการสำคัญ (Chief complaints ตัวย่อ C.C. )
5.ประวัติเจ็บป่วยในครอบครัว (Family history ตัวย่อ F.H. )
1.ข้อมูลส่วนบุคคลหรือประวัติส่วนตัว(Patient profile or Personal history)
6.การซักประวัติตามกรอบแนวคิดที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
การตรวจร่างกาย
1.การดู (Inspection)
2.การคลำ (Palpation)
3.การเคาะ (Percussion)
4.การฟัง (Auscultation)
ข้อควรพึงระลึกถึง
• การเก็บรวบรวมข้อมูลควรเป็นข้อมูลที่ครอบคลุมทั้ง ด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์สังคม และจิตวิญญาณของผู้รับบริการ
• การเก็บรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล ถูกต้องเชื่อถือได้และปราศจากอคติหรือการใช้ความคิดเห็น
การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
2 แหล่งของข้อมูล (Source of data)
3 วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล (Method of data collection)
1 ชนิดของข้อมูล (Type of data)
ชนิดของข้อมูล (Type of data)
(1) ข้อมูลอัตนัย (Subjective data)
•เป็นข้อมูลที่พยาบาลไม่สามารถจะทราบและประเมินผู้รับบริการได้ด้วยวิธีการตรวจวัดต่างๆ
“Symptoms” หรือ "อาการ"
ข้อมูลที่ได้จากการซักประวัติการสัมภาษณ์ และการบอกเล่าของผู้รับบริการหรือบุคคลที่เกี่ยวข้อง
(2) ข้อมูลปรนัย (Objective data
• การตรวจวัดผู้รับบริการด้วยเครื่องมือต่างๆ
• การการตรวจพิเศษต่าง ๆ
• การตรวจร่างกาย
• สิ่งที่ตรวจพบเรียกว่าอาการแสดง “Signs”
• จากการสังเกต
11 แบบแผนของ กอร์ดอน
แบบแผนที่ 9 เพศและการเจริญพันธุ์
แบบแผนที่ 10 การปรับตัว และการเผชิญกับความเครียด
แบบแผนที่ 8 บทบาทและสัมพันธภาพ
แบบแผนที่ 7 การรู้จักตนเองและอัตมโนทัศน์
แบบแผนที่ 6 สติปัญญาและการรับรู้
แบบแผนที่ 5 การพักผ่อนนอนหลับ
แบบแผนที่ 4 กิจวัตรประจำวันและการออกกำลังกาย
แบบแผนที่ 3 การขับถ่าย
แบบแผนที่ 2 โภชนาการและการเผาผลาญสารอาหาร
แบบแผนที่ 1 การรับรู้และการดูแลสุขภาพ
แบบแผนที่ 11 คุณค่าความเชื่อ