Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การติดเชื้อระบบขับถ่าย ปัสสาวะระหว่างตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
การติดเชื้อระบบขับถ่าย
ปัสสาวะระหว่างตั้งครรภ์
การเปลี่ยนแปลงของระบบทาง
เดินปัสสาวะในขณะตั้งครรภ์
เปลี่ยนแปลงทางกายวิภาคที่สำคัญของระบบทางเดินปัสสาวะ
เปลี่ยนแปลงทางหน้าที่ของไต
ระบบการหมุนเวียนของเลือดเพิ่มขึ้น
creatinine และ BUN ในเลือดลดต่ำลง
พบโปรตีนในปัสสาวะ
มากกว่า 300 มิลลิกรัม
ใน 24 ชั่วโมง ถือว่าผิดปกติ
ชนิดของการติดเชื้อ
ติดเชื้อแต่ไม่แสดงอาการ (ASB)
พบแบคทีเรียในปัสสาวะมากกว่า 105 cfu/ml
ขณะตั้งครรภ์จะมีการยืดขยายของทางเดินปัสสาวะ
เชื้อโรคอาจแพร่กระจาย
ไปยังกรวยไต
กรวยไตอักเสบ
ติดเชื้อเฉียบพลันที่กระเพาะปัสสาวะ (Acute cystitis)
มีไข้สูง อ่อนเพลีย และปวดบริเวณท้องน้อย
ติดเชื้อเฉียบพลันที่กรวยไต (Acute pyelonephritis)
พบแบคทีเรียในปัสสาวะมากกว่า 105 cfu/ml
ปัสสาวะเป็นหนอง มีไข้ หนาวสั่น และปวดบริเวณบั้นเอว
กลุ่มอาการโรคไตรั่ว หรือโปรตีนรั่วในปัสสาวะ (Nephrotic syndrome)
พบโปรตีนในปัสสาวะมาก
ประมาณ 5 กรัมต่อวัน
โปรตีนในเลือดต่ำ
ไขมันในเลือดสูง
บวม
ภาวะไตวาย (renal failure)
ไตวายเรื้อรัง
สาเหตุมาจากโรค เช่น DM, SLE
ไตวายเฉียบพลัน
สาเหตุจากการแท้งติดเชื้อ
พยาธิสรีรภาพ
ติดเชื้อแบคทีเรีย
การเพิ่มขึ้นของฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนขณะตั้งครรภ์
ทำให้ท่อไตตึงตัว ทำให้การเคลื่อนไหวและการหดรัดตัวของท่อไตลดลง
ประสิทธิภาพในการดูดซึมกลับลดลง ทำให้ปัสสาวะค้างมากขึ้น
สาเหตุ
ติดเชื้อ E. Coli
อาการ
ติดเชื้อส่วนบน
ปัสสาวะบ่อย ปัสสาวะแสบขัด กระปิดกระปรอย กลั้นปัสสาวะไม่ได้ ปัสสาวะเป็นเลือดหรือสีน้ำล้างเนื้อ ปวดบริเวณหัวหน่าว
ติดเชื้อส่วนล่าง
ปัสสาวะเป็นสีขุ่น หรือสีน้ำล้างเนื้อ เจ็บบริเวณชายโครง ปวดหลังบริเวณตำแหน่งของไต มีไข้ หนาวสั่น คลื่นไส้อาเจียน
ผลกระทบ
สตรีตั้งครรภ์
มดลูกหดรัดตัว แท้ง การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด แถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
รายที่มีการติดเชื้อในกระแสเลือดอาจเกิด septic shock
ทารก
คลอดก่อนกำหนด น้ำหนักตัวน้อย เจริญเติบโตช้าในครรภ์ และตายคลอด
การประเมินและวินิจฉัย
การซักประวัติ
ประวัติการติดเชื้อ อาการ
การตรวจร่างกาย
ปัสสาวะขุ่น หรือสีน้ำล้างเนื้อ มีไข้
ปวดบริเวณท้องน้อยเหนือหัวหน่าว หากกดบริเวณ costovertebral angle จะปวดมาก
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจ urine analysis
พบไข่ขาว เม็ดเลือดขาวสูง
แนวทางการป้องกันและรักษา
ระยะหลังคลอด
ให้การพยาบาลเช่นเดียวกับผู้คลอดทั่วไป
ป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ และการป้องกันการกลับเป็นซ้ำ
เน้นการคุมกำเนิด ในรายที่มีบุตรเพียงพอ
ระยะคลอด
ให้การพยาบาลเช่นเดียวกับผู้คลอดทั่วไป
เน้นเรื่องการทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
สังเกตอาการผิดปกติต่างๆ
ระยะตั้งครรภ์
ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการดำเนินของโรค
เน้นความสำคัญของการมาตรวจครรภ์ตามนัด
แนะนำการปฏิบัติตัว
ติดตามการเปลี่ยนแปลงของโรค
รวมทั้งสังเกตอาการผิดปกติ
กรณีรับเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาล
อธิบายความจำเป็นการรักษา
ให้พักผ่อนเพียงพอ
ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
ประเมินเสียงหัวใจและการดิ้นของทารก
สังเกตและบันทึกปริมาณ I&O และติดตามผลLab
ให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
ดูแลประคับประคองจิตใจ
พักผ่อนเพียงพอ
ดื่มน้ำวันละ 8-10 แก้ว
รักษาความสะอาดของร่างกาย
ให้ความรู้การรับประทานยาอย่างต่อเนื่อง
ให้สังเกตอาการผิดปกต
การพยาบาล
การป้องกัน
ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์หลังขับถ่าย
ดื่มน้ำวันละ 8-10 แก้ว
คัดกรองการติดเชื้อตั้งแต่ต้น
การรักษา
ติดเชื้อแบบ ASB
รับยาปฏิชีวนะ
ampicillin, cephalexin, amoxicillin และ nitrofurantoin 7 วัน
ติดเชื้อที่กระเพาะปัสสาวะ
รับยาปฏิชีวนะ
กรวยไตอักเสบเฉียบพลัน
รับไว้ในโรงพยาบาล
ให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ
ให้ยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดดำ