Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 ความสำคัญของการสื่อสาร - Coggle Diagram
บทที่ 1
ความสำคัญของการสื่อสาร
ยุคการสื่อสาร
ยุคโบราณ
เป็นยุคที่มีการใช้ท่าทางง่ายหรือการเขียนภาพ เป็นการสื่อสารที่ไม่ ซับซ้อน ด้วยเสียงพูดและท่าทาง
ยุคเกษตรกรรม
มีการรวมกลุ่มชุมชน การสื่อสารมวลชน มีการใช้อักษรภาพ โดยการสื่อสารในชุมชนขนาดใหญ่ มีการใช้ตัวอักษรและระบบการพิมพ์
ยุคอตสาหกรรม
เป็นยุคที่มีโทรเลข วิทยุ โทรทัศน์ โดยเป็นยุคที่มีการสื่อสารที่มัความซับซ้อนเพราะมีเทคโนโลยีใหม่ๆซึ่งพัฒนาให้มีความทันสมัย
ยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ
มีการพัฒนาระบบเครือข่ายที่ใช้ดาวเทียมและเคเบิลใยแก้ว
ความหมายของการสื่อสาร :
กระบวนการในการถ่ายทอดข่าวสาร ความรู้ความคิด จากผู้ส่งสารไปถึงผู้รับสาร
นักสื่อสารมวลชน : จากผู้ส่งสารไปยังผู้รับสาร
นักจิตวิทยา : การตีความหมายโดยท่าทางที่แสดงออกมาโดยไม่รู้ตัว
นักโครงสร้างทางสังคม : แสดงปฏิสัมพันธ์โดยสัญลักษณ์และ
ระบบสาร
นักภาษาศาสตร์ : ถ่ายทอดข้อมูลโดยใช้ระบบสัญลักษณ์
องค์ประกอบของการสื่อสาร : การสื่อสารจะเกิดผลก็ต่อเมื่อองค์ประกอบมีประสิทธิภาพสูง
ผู้ส่งสารต้องมีความน่าเชื่อถือ
ปัจจัยความน่าเชื่อถือ ได้แก่
1.ความรู้ในสาร
2.รูปลักษณ์หรือบุคลิกลักษณะ
3.ความสุขุมความคล่องแคล่ว
4.การเป็นที่ยอมรับ
5.ความเป็นคนเปิดเผย
บุคลิกที่ผู้รับสารควรมี ซึ่งจะทำให้การสื่อสารไม่สัมฤทธิ์ผล
มีจิตใจคับแคบ มีความนับถือตัวเองสูง มีความก้าวร้าวมีความเป็นศัตรู
มีความกังวลใจ ฝังใจกับทัศนะดั้งเดิม มีเล่ห์เหลี่ยมหลองลวง
สารประกอบด้วย 2 สิ่ง คือ เนื้อหา และ สัญลักษณ์
ผลผลิตของผู้ส่งสารจะต้องมีความชัดเจน
เรื่องราวการแสดงออก ซึ่งแสดงออกโดยภาษา เนื้อหาของสารจะมีเกณฑ์การแบ่งอยู่ 2 ข้อ คือ 1.ข้อเท็จจริง/ข้อคิดเห็น 2.สารประเภทให้ความรู้ สารโน้มน้าวใจ
สื่อ : เครื่องมือที่ใช้ในการสื่อสาร
ประเภทของสื่อในเชิงภาษา
สื่อประเภทวัจนะ : ภาษา ท่าทาง ถ้อยคำ
สื่อที่ไม่เป็นวัจนะ : การแสดงสีหน้า การส่งเสียง
ความไม่เป็นเสียงพูด : การรูบรู้บางอย่างผ่านประสาทสัมผัส
ความเป็นเสียงพูด : การใช้เสียงในการตอบรับที่สื่อความหมาย
ประเภทของสื่อตามช่องทางการสื่อสาร
ช่องทางการสื่อสาร : ตัวกลางที่บรรจุข่าวสารลงไปและส่งไปยังผู้รับสาร
ผู้ส่งสารควรเลือกช่องทางให้เหมาะกับวัตถุประสงค์
ผลของการสื่อสาร
การตอบสนองของผู้รับสารทำให้เกิดผลที่สมดังเจตนาของผู้ส่งสาร
วัตถุประสงค์ของการสื่อสาร
วัตถุประสงค์ของการส่งสาร
แบ่งเป็น 6 ประเภท ได้แก่ 1.เพื่อแจ้งให้ทราบ : การบอกให้ทราบข้อมูลต่างๆ
2.เพื่อสอนเพื่ิให้การศึกษา : ผู้ส่งสารต้องมีความรู้อธิบายให้ผู้รับเข้าใจ
3.เพื่อชักจูงโน้มน้าวใจ : เน้นให้ผู้รับสารคล้อยตาม
4.เพื่อสร้างความพอใจ/ความบันเทิง : เพื่อให้ผู้รับสารรู้สึกผ่อนคลาย
5.เพื่อสอบถามความช่วยเหลือ
6.เพื่อรักษาสัมพันธไมตรีทางสังคม : เกี่ยวกับวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน
วัตุประสงค์ของการรับสาร
1.เพื่อรับทราบ
2.เพื่อศึกษาเรียนรู้หรือทำความเข้าใจ
3.เพื่อกระทำหรือตัดสินใจ
4.เพื่อความพอใจหรือความรื่นเริง
5.เพื่อรับทราบและให้ความช่วยเหลือ
6.เพื่อสืบสารสัมพันธไมตรีทางสังคม
ประเภทของการสื่อสาร : ตามแนวคิดของ ปรมะ สตะเวทิน
การสื่อสารภายในบุคคล : 1 คน คือตัวเราเอง
การสื่อสารระหว่างบุคคล : 2 คนขึ้นไป สามารถแลกเปลี่ยนสารกันได้
การสื่อสารในองค์การ : มีชื่อหน่วยงานกำกับ
การสื่อสารกลุ่มใหญ่ : จำนวนคนหมู่มาก จำกัดในเรื่องพื้นที่เดียวกัน
การสื่อสารมวลชน : เป็นการสื่อสารกับคนจำนวนมากที่ไม่สามารถระบุได้อย่างแน่ชัด
สาเหตุที่ทำให้การสื่อสารไม่สัมฤทธิ์ผล
1.รหัสสาร : ภาษาการสะกดคำ สัญลักษณ์ท่าทาง บริบททางภาษา 2.เนื้อหาสาร : รายละเอียดสารซับซ้อน ใช้ศัพทย์เฉพาะ
3.การจัดเรียงลำดับสาร : โครงสร้างทางภาษา การเรียงลำดับคำในภาษา
สาเหตุจากสื่อหรือช่องทางการสื่อสาร
การเลือกใช้สื่อที่ไม่เหมาะกับผู้ส่งสาร การเลือกใช้สื่อที่ไม่เหมาะสมกับเนื้อหาสาร
การเลือกใช้สื่อที่ไม่เหมาะสมกับผู้รับสาร
การเลือกใช้สื่อที่ไม่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม
1.ความรู้ความสามารถ : ความรู้ การใช้ภาษา การใช้สื่อเหมาะสมและทันสมัย
2.บุคลิกลักษณะ : ทัศนคติ สภาพร้างการและจิตใจ เจตนา
สาเหตุที่เกิดจากผู้รับสาร
ความรู้ความสามารถ บุคลิกลักษณะ ทัศนคติ สภาพร่างกายและจิตใจ