Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่8 ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ, *ข้อห้ามในการให้ RTPA, pngtree…
หน่วยที่8 ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ
ปัญหาระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและฮอร์โมน
โรคหลอดเลือดสมอง(Stroke)
เป็นภาวะที่มีความผิดปกติของระบบหลอดเลือดสมอง เป็นเหตุให้สมองบางส่วนหรือทั้งหมดผิดปกติไป ซึ่งจะแสดงอาการคงอยู่เกิน 24ชม.
อาการและอาการแสดง
แขนขาอ่อนแรง
พูดไม่ชัด
หน้าเบี้ยว
การพยาบาล
ระยะฉุกเฉินและวิกฤต
เฝ้าระวังไม่ให้เกิดภาวะพร่องออกซิเจน ไม่ควรใช้PEEP
ดูดเสมหะเมื่อจำเป็น ไม่ใช้เวลาดูดนานเกิน10-15นาที
ประเมินความดันโลหิตอย่างต่อเนื่อง หลีกเลี่ยงการให้ยาเมื่อความดันโลหิตน้อยกว่า220/120mmHg
ไม่ควรให้ Nifedipineอมใต้ลิ้นหรือทางปาก ทำให้สมองขาดเลือดไปเลี้ยง
ป้องกันภาวะความดันกระโหลกศรีษะสูง(IICP)
จัดท่านอนศรีษะสูง30องศา ห้ามจัดท่านอนคว่ำ
ดูแลป้องกันไม่ให้เกิดแรงดันในช่องอกและช่องท้อง
ประเมินอาการแสดงความดันในกระโหลกศรีษะสูง
ขณะให้ยาละลายลิ่มเลือด
อธิบายให้ญาติเข้าใจถึงการได้รับยาละลายลิ่มเลือด
ควบคุมระดับน้ำตาลไม่ควรเกิน150mg% หลีกเลี่ยงการให้สารน้ำที่มีกลูโคส
ให้ยาลดกรดป้องกันเลือดออกในระบบทางเดินอาหาร
เฝ้าระวังและป้องกันการมีเลือดออกตามอวัยวะต่างๆ
การวินิจฉัยและการรักษา
ประวัติอาการสำคัญ
ประเมินด้วย Cincinati pre-hospital stroke scale
รักษาแบบทางด่วน
ให้ยาละลายลิ่มเลือด (RTPA)
มีความดันโลหิตมากกว่าเท่ากับ 180/110mmHg
ได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือดภายใน48ชม.
มีเลือดออกในสมอง มีอาการชัก มีประวัติเลือดออกในสมอง
มีค่าความแข็งตัวของเลือด/เกร็ดเลือดผิดปกติ HCT<25%
ห้ามให้ในกรณีที่ไม่ทราบเวลาที่แน่นอน
รักษาแบบไม่ใช่ทางด่วน
แบ่งเป็น2กลุ่ม
เกิดจากสมองขาดเลือด (Ischemic stroke)
เกิดจากการมีเลือดออกในสมอง (Hemorrhagic stroke)
ปัจจัยเสี่ยง
ปรับเปลี่ยนได้
ความดันโลหิตสูง
Atrial fibrillation
โรคหลอดเลือดหัวใจ
ความผิดปกติของหลอดเลือดแดงcarotid
สูบบุหรี่ เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง
เคยเป็นโรคหลอดเลือดสมอง
ปรับเปลี่ยนไม่ได้
อายุ เพศ ชาติพันธ์ พันธุกรรม
ข้อเสื่อม
มีการเปลี่ยนแปลงกระดูกอ่อนผิวข้อ สึกบางลง ทำให้มีการเสียดสีของกระดูก เกิดเสียงเมื่อเคลื่อนไหว มีเศษกระดูกลอยอยู่ในข้อ ทำให้ปวดข้อมากยิ่งขึ้น
ลักษณะสำคัญ
มีการเสื่อมทำลายของกล้ามเนื้อโดยไม่มีการอักเสบของข้อ
เกิดขึ้นกับข้อที่เคลื่อนไหวได้ ทำให้มีการจำกัดในการเคลื่อนไหว
พบมากในวัยสูงอายุ
ปัจจัยชักนำ
อายุ กรรมพันธ์
การใช้งานข้อมากเกินไป
บาดเจ็บที่ข้อ โรคอ้วน
ขาดวิตามินดีและซี ทำให้กระดูกสร้างได้น้อยลง
อาการและอาการแสดง
ข้อเสื่อมมักเป็นข้อที่รับน้ำหนักมากที่สุด
ปวดตื้อๆ ปวดมากเมื่อใช้งานหรือลงน้ำหนัก
ข้อบวมผิดรูป สูญเสียการเคลือนไหวและการทำงาน
เสียงดังกรอบแกรบขณะเคลื่อนไหวข้อ
การวินิจฉัย
การเจาะเลือด ตรวจน้ำหล่อเลี้ยงเข่า
การรักษา
เนื่องจากรักษาไม่หาย
บรรเทาอาการปวด ลดการอักเสบ
แก้ไขหรือคงสภาพการทำงานของข้อให้ปกติ ป้องกันและชะลอภาวะแทรกซ้อน
การรักษาโดยไม่ใช้ยา
การลดน้ำหนัก
การออกกำลังกายแบบแอโรบิค แรงกระแทกต่ำ
การบริหารข้อด้วยการยืดเหยียดล้ามเนื้อ
การรักษาโดยการใช้ยา
ยาแก้ปวด ยาแก้อักเสบ
การรักษาโดยการผ่าตัด
ผ่าตัดโดยการส่องกล้อง
ผ่าตัดใส่ข้อเข่าเทียม
ผ่าตัดแก้ความโก่งงอของเข่า
การพยาบาล
ประเมินความปวด ปัจจัยที่ทำให้ปวดเพิ่มขึ้น ประเมินความสามารถในการเคลื่อนไหวของข้อ
Range of motion exercise
ประคบร้อนเพื่อบรรเทาอาการปวด
แนะนำการขึ้นลงบันไดที่ถูกวิธี และการใช้ไม้เท้าหรือเครื่องพยุงเดิน
นั่งเก้าอี้ที่มีที่เท้าแขน
ไม่ควรใช้พรมปูพื้น
กระดูกพรุน
ความหนาแน่นของเนื้อกระดูกลดน้อยลงเรื่อยๆ มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของกระดูก มีผลให้กระดูกไม่สามารถรับน้ำหนักหรือแรงกดได้ตามปกติ
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
เพศและอายุ รูปร่างเล็กผอม
เชื้อชาติ กรรมพันธ์ุ โรคประจำตัว
คนที่มีประวัติในครอบครัวเกิดภาวะกระดูกพรุน
การใช้ยาที่มีผลการสลายเนื้อกระดูก
รูปแบบการดำเนินชีวิต
การไม่ได้เคลื่อนไหวหรือขาดการออกกำลังกาย
รับประทานอาหารรสเค็มจัด รับประทานอาหารโปรตีนสูง
อาหาร รับประทานอาหารที่ลดการดูดซึมแคลเซียม
อาการและอาการแสดง
ปวดหลัง
Dowager's hump : กระดูกสันหลังโค้ง
น้ำหนักลด กล้ามเนื้อเกร็งโดยเฉพาะบั้นเอว
การก้มทำได้เล็กน้อยกว่าการแหงนเหยียด
การวินิจฉัยและการรักษา
ใช้ Dual Energy X-ray Absorbationmetry (DEXA) วินิจฉัยว่าเป็นกระดูกพรุนเมือ BMDน้อยกว่า-2.5SD
การรักษาโดยไม่ใช้ยา
การได้รับแคลเซียมเพียงพอ
วิตามินดี
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคกระดูกพรุน
การออกกำลังกาย
การออกกำลังกายที่แบกรับน้ำหนักที่เหมาะสม
การออกกำลังกายที่ออกแรงต้าน เช่น การยกขวดน้ำหรือดัมเบล
การรักษาโดยใช้ยา
ใช้ยา Biphosphonate
การพยาบาล
ดูแลให้ได้รับประทานอาหารที่มีแคลเซียมสูง
ประเมินและติดตามอาการปวด
ดูแลด้านอารมณ์จิตใจ
เบาหวาน
แบ่งเป็น2ชนิด
ชนิดที่1
พบในเด็ก มักจะผอม
เกิดจากตับอ่อนไม่สร้างอินซูลินได้
เมื่อขาดจะเกิดภาวะหมดสติจากน้ำตาลในเลือดสูงและกรดคั่งในเลือด (Ketoacidosis)
ชนิดที่2
ตับอ่อนยังพอสร้างอินซูลินได้ แต่มีภาวะดื้อต่ออินซูลิน
ส่วนใหญ่พบในผู้สูงอายุ
อาการและอาการแสดง
กินจุ ปัสสาวะบ่อย ดื่มน้ำมาก น้ำหนักลด ติดเชื้อบ่อย ผิวหนังมีแผลหายยาก
ภาวะดื้อต่ออินซูลิน
เกณฑ์การวินิจฉัย
มีอาการของโรคร่วมกับมีกลูโคสพลาสมาจากหลอดเลือดดำมากกว่าเท่ากับ200 mg/dL
มีระดับน้ำตาลในเลือดหลังอดอาหารมากกว่าหรือเท่ากับ126mg%
ภาวะแทรกซ้อนเฉียบพลัน
ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ
ระดับน้ำตาลในเลือดสูง สูญเสียน้ำจำนวนมาก
การถูกตัดขา
การควบคุมเบาหวาน
การบริโภคอาหารที่เหมาะสม
การออกกำลังกาย การลดน้ำหนัก
การใช้อินซูลินฉีด
การพยาบาล
ส่งเสริมให้มีความรู้และสามารปฎิบัติเพื่อควบคุมโรคเบาหวานได้
การแนะนำเรื่องอาหารควบคู่กับการออกกำลังกายได้
การดูแลสุขภาพเท้า
ปัญหาความผิดปกติในการขับถ่าย
ภาวะท้องผูก
ภาวะที่ทำงานหรือการเคลื่อนไหวของลำไส้ลดลง ทำให้ร่างกายไม่สามารถขับถ่ายอุจจาระออกมาได้
ชนิดของท้องผูก
แบ่งตามลักษณะการขับถ่าย
ถ่ายลำบากหรือเจ็บปวดในขณะถ่าย
มีการไหลอุจจาระในลำไส้อย่างช้า
แบ่งตามสาเหตุการทำให้เกิดท้องผูก
Primary constipation : เกิดขึ้นเองโดยไม่มีโรคอื่นหรือสาเหตุนำมาก่อน
Secondary constipation : มีก้อนเนื้องอกของลำไส้ การเคลื่อนไหวของลำไส้ผิดปกติ มีความผิดปกติทางจิต มีความผิดปกติทางต่อมไร้ท่อ และการได้รับยา
การประเมินและการพยาบาล
โดยการซักประวัติและตรวจร่างกาย : แบบแผนการขับถ่าย ฟังเสียงBound Sound
รับประทานอาหารที่มีเส้นใยสูง ดื่มน้ำวันละอย่างน้อย6-8แก้ว
หลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน เสริมการดื่มน้ำส้ม มะนาว มะขามช่วยให้อุจจาระอ่อนตัว
ฝึกการขับถ่าย ออกกำลังกายที่ช่วยในการขับถ่าย เช่น เกร็งกล้ามเนื้อหน้าท้อง นวดคลึงหน้าท้องบริเวณลำไส้
พลิกตะแคงตัวทุก2ชม.ในผู้สูงอายุที่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้
ดูแลเรื่องการรับประทานยา : ระวังการใช้ยาลดกรดที่มีองค์ประกอบของแคลเซียมคาร์บอเนตและโซเดียม ใช้ยาระบายที่มีอาการข้างเคียงน้อย
ต่อมลูกหมากโต
ผนังด้านข้างหรือด้านในของต่อมลูกหมากเพิ่มจำนวนเซลล์มากผิดปกติ เบียดเข้าไปในท่อปัสสาวะทำให้แคบลง ทางเดินปัสสาวะจะอุดกั้น ทำให้ปัสสาวะไหลไม่สะดวก
อาการ
ปัสสาวะต้องเบ่ง ปัสสาวะไม่พุ่งเป็นลำเล็กๆ ปัสสาวะไม่สุด ปัสสาวะบ่อย ต้องตื่นตอนกลางคืน
ภาวะแทรกซ้อน
กระเพาะปัสสาวะบีบตัวไม่ดี
เกิดการติดเชื้อง่าย ไตเสื่อม
กลั้นปัสสาวะไม่ได้ ปัสสาวะเล็ด
นิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
การรักษา
การเฝ้าสังเกตอาการ : แนะนำไม่ให้รับประทานยาลดน้ำมูกเพราะจะทำให้อาการแย่ลง
รักษาโดยยา
กล้ามเนื้อคอกระเพาะปัสสาวะคลายตัว
มีฤทธิ์ข้างเคียง คือ ความดันโลหิตต่ำ ปวดหัว
ยาลดขนาดต่อมลูกหมาก
ลดการหดเกร็งของกล้ามเนื้อที่บีบรัดท่อปัสสาวะ
ฮอร์โมนเพศชาย : Testosterone
รักษาโดยไม่ใช้วิธีผ่าตัด
Transurethral Microwave Procedures
Transurethral Needle Ablation
Balloon dilation
การผ่าตัด
Transurethral resection of the prostate(TURP)
ใส่เครื่องมือเข้าทางท่อปัสสาวะและใช้เครื่องมือตัดชิ้นเนื้อต่อมลูกหมากเป็นชิ้นเล็กๆแล้วล้างออก ลดความดันในต่อมลูกหมากทำให้ปัสสาวะออกง่ายขึ้น
ข้อเสียคือ เลือดออกง่าย มีน้ำอสุจิไหลย้อนกลับ กลั้นปัสสาวะไม่ได้ องคชาตไม่แข็งตัว
การพยาบาล
ก่อนการผ่าตัด
อาบน้ำสระผม ทำความสะอาดร่างกายเตรียมบริเวณที่จะผ่าตัด สวนอุจจาระในคืนก่อนผ่าตัด
หลังการผ่าตัด
ประเมินสัญญาณชีพ สีปัสสาวะและจำนวนที่ออกมา
จัดท่าให้ผู้ป่วยนอนเหยียดข้างที่ถูกตรึงไว้กับสายปัสสาวะ
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับการสวนล้างกระเพาะปัสสาวะอย่างต่อเนื่อง
สังเกตการบวมนูนของกระเพาะปัสสาวะ
ดูแลสายสวนและถุงปัสสาวะให้อยู่ในระบบปิด
จัดให้ถุงใส่ปัสสาวะอยู่ต่ำกว่ากระเพาะปัสสาวะ
การกลั้นปัสสาวะไม่อยู่
การสูญเสียการควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะทำให้มีปัสสาวะเล็ดราดออกมาทางท่อปัสสาวะโดยไม่สามารถควบคุมได้
ชนิด
กลั้นปัสสาวะไม่อยู่แบบชั่วคราว
Derilium
Infection
Atrophic Vaginitis
Phamacological agents
Psycological factor
Excess urine output
Restrict mobility
Stool impact
กลั้นปัสสาวะไม่อยู่แบบเรื้อรัง
Stress incontinence
มีปัสสาวะเล็ดราดออกมาเมื่อมีแรวดันในช่องท้องเพิ่มขึ้น
Urge incontinence
มีปัสสาวะเล็ดร่วมกับความรู้สึกปวดถ่ายอย่างรุนแรง
Functional incontinence
ไม่ได้เกิดจากพยาธิสภาพ
Overflow incontinence
มีปัสาวะเล็ดออกมาเนื่องจากกระเพาะปัสสาวะยืดขยาย มีน้ำปัสสาวะล้นออกมา
ผลกระทบ
ด้านร่างกาย : ระคายเคืองผิวหนัง เสี่ยงต่อการติดเชื้อ เสี่ยงต่อการหกล้ม
ด้านจิตใจและสังคม : คุณค่าตัวเองลดลง แยกตัวจากสังคม
การประเมิน
การเปลี่ยนแปลงด้านสรีระวิทยาในวัยสูงอายุ
โรคที่เกิดขึ้นมาก่อน
ยาที่ผู้สูงอายุรับประทาน
ประวัติการมีปัสสาวะราด
การตรวจร่างกาย
การรักษา
การรักษาเชิงพฤติกรรม (Behavioral therapy)
การฝึกกระเพาะปัสสาวะ
การฝึกกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน
การใช้อุปกรณ์ช่วยในการบริหารช่องคลอด
กาารักษาโดยใช้ยา (Pharmacologic therapy)
การรักษาโดยการผ่าตัด (Surgical therapy)
การพยาบาล
Stress incontinence
สอนให้บริหารกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน
Bladder training
แนะนำให้ใช้แผ่นรองซับ ควบคุมน้ำหนัก
Urge incontinence
Bladder Training
kegel exercise
Overflow incontinence
แนะนำให้ปัสสาวะเมื่อรู้สึกปวด อย่ากลั้น
แนะนำให้ใช้ Crede's maneuver และ Double voiding technique
ปัญหาระบบไหลเวียนเลือด
หัวใจขาดเลือด
กล้ามเนื้อหัวใจมีความไม่สมดุลของการใช้ออกซิเจนกับความต้องการใช้ออกซิเจน ทำให้หัวใจขาดเลือดหรือตายจากหลอดเลือดขาดเลือดไปเลี้ยงเฉียบพลัน
สาเหตุ : มีการแตกของplaque เกิดการเกาะกลุ่มรวมกันของเกร็ดเลือด ซึ่งเป็นกลไกการรักษาการบาดเจ็บ ทำให้ขัดขวางการไหลของเลือดและออกซิเจน ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจไม่ได้รับออกซิเจน กล้ามเนื้อหัวใจจึงมีการเผาผลาญแบบไม่ใช้ออกซิเจน เกิดกรดแลคติกคั่ง ระคายเคืองระบบประสาท จึงเกิดอาการเจ็บหน้าอก "angina pectoris"
อาการ
เจ็บหน้าอก
อาการอ่อนเพลีย ร้าวไปคอ แขนขวา กราม
คลื่นไส้อาเจียน
ไข้ เหงื่อออกมากตัวเย็น
อาการทางจิตใจ
อาการของระบบหัวใจและหลอดเลือด
การตรวจวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
ST segmentยกขึ้นสูง
ST segmentยกสูงขึ้น
T waveหัวกลับ
การตรวจCardiac marker : พบTroponin IและT ในกระแสเลือดเพิ่มขึ้น
การตรวจพิเศษ
ตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง (Echocardiography)
การสวนและฉีดสีหลอดเลือดหัวใจ (Cardiac catherization)
การรักษา : การจำกัดบริเวณการขาดเลือดของหัวใจ ไม่ให้เกิดในวงกว้าง และป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน
ผู้ป่วยSTEMI
การให้ยาละลายลิ่มเลือด
การถ่างขยายหลอดเลือด
ผู้ป่วยNSTEMI
ดูแลให้ได้รับยาต้านการเกาะกลุ่มของเกร็ดเลือด
การพยาบาล
ประเมินสัญญาณชีพ
ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
หยุดการทำกิจกรรมเมื่อมีอาการเจ็บหน้าอก
ดูแลให้ได้รับยาขยายหลอดเลือด
ดูแลให้ได้รับยาต้านการเกาะกลุ่มของเกร็ดเลือด
หัวใจล้มเหลว
ชนิด
ตามเวลาการเกิดของโรค
Acute HF : เกิดแบบเฉียบพลัน
Chronic HF : เกิดซ้ำๆบ่อยๆ
ประสิทธิภาพการบีบตัวของหัวใจ
HFrEF : หัวใจล้มเหลวที่มีการบีบตัวของหัวใจห้องล่างซ้ายต่ำกว่า40%
HFmrEF : ภาวะหัวใจล้มเหลวที่หัวใจห้องล่างซ้ายบีบตัวมากกว่า40%
HFpEF : หัวใจล้มเหลวที่หัวใจห้องล่างซ้ายบีบตัวมากกว่า50%
ระยะของภาวะหัวใจล้มเหลว
StageA : มีความเสี่ยงต่อการมีโครงสร้างผิดปกติ
StageB : มีความผิดปกติของโครงสร้างหัวใจแต่ไม่มีอาการแสดง
StageC : ผู้ป่วยเคยมีอาการแสดงของภาวะหัวใจล้มเหลวมาก่อน
StageD : ผู้ป่วยอยู่ในระยะสุดท้ายของโรค มีการดำเนินของโรคไม่ดี
จำแนกตามหน้าที่ทางกาย
Class II : ผู้ป่วยมีกิจกรรมเล็กน้อย รู้สึกสบายเมื่อพัก ทำกิจกรรมแล้วมีอาการแสดง
Class III : ผู้ป่วยมีข้อจำกัดในการทำกิจกรรมมาก จะรู้สึกสบายเมื่อพัก ทำกิจกรรมเล็กน้อยแล้วมีอาการแสดง
Class I : ผู้ป่วยไม่มีข้อจำกัดในการทำกิจกรรมหรือกิจวัตรประจำวันปกติ โดยไม่มีอาการแสดง
Class IV : ผู้ป่วยไม่สามารถทำกิจกรรมได้เลย ในขณะพักมีอาการเหนื่อย หายใจลำบากชัดเจน
อาการและอาการแสดง
ภาวะหัวใจซีกซ้ายวาย : การบีบตัวห้องล่างซ้ายลดลง ส่งผลให้มีเลือดคั่งในหัวใจห้องบนซ้ายและปอด จึงมีอาการเหนื่อยหอบ นอนราบไม่ได้ เหนื่อยขณะนอนหลับ หัวใจเต้นเร็วสลับเบา ปัสสาวะออกน้อย
ภาวะหัวใจซีกขวาวาย : หลอดเลือดดำที่คอโป่งพอง บวมกดบุ๋ม มีน้ำในช่องท้อง อาจพบอาการคลื่นไส้ เบื่ออาหาร
การประเมิน
ซักประวัติ : โรคประจำตัว ประเมินอาการแสดง
ตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การรักษา
StageB : ป้องกันการเกิดSympatomatic HFและCardiac remodeling โดยการควบคุมปัจจัยเสี่ยง
StageC : เป้าหมายเพื่อควบคุมอาการ ส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีการจัดการตนเอง โดยได้รับการสนับสนุนจากครอบครัว
StageA : ป้องกันการเกิดโรคระบบหัวใจและหลอดเลือด ควบคุมปัจจัยเสี่ยง โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
StageD : ผู้ป่วยมีอาการรุนแรงเข้าสู่ระยะสุดท้าย เน้นการดูแลแบบประคับประคอง
ความดันโลหิตสูง
ระดับความดันโลหิตมากกว่าเท่ากับ140/90mmHg ซึ่งอาจเป็นตัวบนหรือตัวล่างก็ได้
Isolated office hypertension : ระดับความดันโลหิตเมื่อวัดในคลินิกหรือสถานพยาบาลมีค่ามากกว่าเท่ากับ140/90mmHgแต่เมื่อวัดที่บ้านความดันต่ำกว่า135/85mmHg
Mask hypertension : เมื่อวัดความดันโลหิตที่สถานพยาบาลพบว่าปกติแต่เมื่อวัดที่บ้านพบว่าสูง
Isolated systolic hypertension : ความดันตัวบนมากกว่า140 mmHg หรือความดันตัวล่างมากกว่า90mmHg
การประเมินผู้ป่วยที่สงสัยว่าเป็นความดันโลหิตสูง
เพื่อประเมินความรุนแรงของโรค
ประเมินร่องรอยอวัยวะที่ถูกทำลาย(TOD)
ตรวจหาโรคที่เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดCVD
การประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด
ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดCVD : อายุ เพศ ประวัติการสูบบุหรี่ ไขมันในเลือดผิดปกติ
การพบร่องรอยอวัยวะถูกทำลาย : อาการเหนื่อยง่าย ใจสั่น เจ็บหน้าอก ขาแขนหรือขาอ่อนแรง
การตรวจหาTODและCVD
การรักษา
การปรับเปลี่่ยนพฤติกรรมการดำเนินชีวิต
การรักษาด้วยยา
CCBs
ACEIs
ARBs
Thiazide-type diuretics
การพยาบาล
ติดตามความดันโลหิต ชั่งน้ำหนักตัว หมั่นสังเกตอาการผิดปกติ
การรับประทานอาหารแบบ DASH ลดอาหารรสเค็มจัดและมีโซเดียมสูง
ออกกำลังกายแบบแอโรบิค ผ่อนคลายความเครียด
รับประทานยาสม่ำเสมอ ขณะรับประทานยาลดความดันโลหิตควรแนะนำให้เปลี่ยนท่าช้าๆ
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง(COPD)
พยาธิสภาพ
การกำจัดการไหลของอากาศและการขังของอากาศในถุงลม
มีความผิดปกติในการแลกเปลี่ยนก๊าซ : ทำให้เกิดความไม่สมดุลระหว่างการระบายอากาศ
มีการหลั่งมูกเพิ่มมากขึ้น : มีการอักเสบของหลอดลมเรื้อรัง
ความดันในปอดสูง(PAH) : ทำให้เกิดภาวะหัวใจซีกขวาวายตามมา
อาการแสดง : เหนื่อย หายใจลำบาก ไอเรื้อรัง แน่นหน้าอก หายใจมีเสียงวี๊ด เหนื่อยล้า น้ำหนักลด
การวินิจฉัยโรค
การซักประวัติ : การสูบบุหรี่ การสัมผัสสารเคมี
การตรวจร่างกาย
Chest X-ray
ABG
สมรรถภาพปอด : การวัดปริมาตรของอากาศที่หายใจเข้าออกจากปอด ถ้าค่าที่ได้น้อยกว่า70%คือเป็นCOPD
การรักษา
การหยุดสูบบุหรี่
การใช้ยา
ยาขยายหลอดลมกลุ่มBeta-adrenergic agonist : ผลข้างเคียงคือ หัวใจเต้นเร็ว
ยากลุ่มAnticholinergic : ผลข้างเคียงคือปากแห้ง คอแห้ง
ยากลุ่มMethylxanthines : ผลข้างเคียงคือ หัวใจเต้นผิดจังหวะ ชัก ปวดหัวนอนไม่หลับ
ยากลุ่มCorticosteroid : ผลข้างเคียงคือ เกิดเชื้อราในปาก เสียงแหบ
การรักษาด้วยออกซิเจน : เป้าหมายคือร้อยละ88-92
การรักษาอื่นๆ
การฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่
ให้alpha1antitrypsin
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
การสูบบุหรี่ ทั้งสูบด้วยตนเองและผู้สูบมือสอง
มลพิษในอากาศ
เพศชายมีโอกาสเกิดมากกว่าเพศหญิง
โรคหอบหืด มีโอกาสเกิดมากถึง12%
ปัญหาในการสื่อสาร
การส่งสารและการรับรู้ข้อมูลจากโลกภายนอกทั้งอวัจนภาษาและวัจนะภาษา เป็นกระบวนการทำงานที่ต้องทำหน้าที่ทั้งทางร่างกายและจิตใจ
ความผิดปกติของการสื่อสารด้วยคำพูดที่พบบ่อย
Aphasia : ความผิดปกติของการพูดและการใช้ภาษา
อาการ : พูดไม่ได้ หรือไม่เข้าใจภาษา
ความผิดปกติของaphasia
Wernicke's Aphasia : ปัญหาเรื่องการรับรู้เข้าใจในภาษา
ผู้ป่วยสามารถพูดได้คล่อง แต่ไม่สามารถเข้าใจคำพูดนั้นได้
Broca's Aphasia : ปัญหาเรื่องการแสดงออกทางภาษาแต่มีความเข้าใจในภาษาปกติ
ผู้ป่วยสามารถเข้าใจคำพูดของผู้อื่นได้ แต่พูดไม่ชัดและไม่สามารถบอกความต้องการของตนเองได้
Nominal Aphasia : มีปัญหาเรื่องการนึกคำพูด
ผู้ป่วยนึกคิดคำศัพท์ที่จะพูดได้ลำบาก มักจะพูดอ้อม
Global Aphasia : ปัญหาเรื่องการแสดงออกทางภาษาและความเข้าใจในภาษา
การพยาบาล
อธิบายสถานการณ์
ูสื่อสารด้วยคำพูดที่เข้าใจ
พูดในสิ่งที่ผู้สูงอายุคุ้นเคยและสนใจ
กระตุ้นผู้สูงอายุให้พูดจนจบ
Dysarthia
ความผิดปกติในการควบคุมกล้ามเนื้อการพูด คือ พูดไม่ได้ พูดไม่ชัด พูดตะกุกตะกัก
บริหารใบหน้า เช่น เป่าลมห่อปาก
หายใจเข้าลึกๆก่อนพูด
สมองส่วนที่มีความเกี่ยวข้องกับการพูดและเข้าใจภาษา
Wernicke's area : ผู้ป่วยจะได้ยินสิ่งที่คนอื่นพูดแต่ไม่เข้าใจความหมาย
Broca's area : สูญเสียการสื่อสารที่ออกเป็นคำพูด จะพูดได้ลำบาก
การมองเห็น
ปัจจัยด้านผู้สูงอายุ
หู : ความสามารถในการได้ยินลดลง
ตาฝ้ามัว มองไม่ชัด
อวัยวะการพูด : มะเร็งกล่องเสียง
*ข้อห้ามในการให้ RTPA