Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัญหาระบบประสาท ปัญหาสุขภาพจิต ปัญหาเพศสัมพันธ์ในผู้สูงอายุ และการพยาบาล …
ปัญหาระบบประสาท ปัญหาสุขภาพจิต ปัญหาเพศสัมพันธ์ในผู้สูงอายุ
และการพยาบาล
ภาวะสมองเสื่อม (Dementia)
เป็นกลุ่มอาการที่มีสาเหตุจากความผิดปกติของการทำงานของสมองด้านการคิดและสติปัญญา
สาเหตุของภาวะสมองเสื่อม
Primary dementia
เกิดจากความผิดปกติหรือการเสื่อมลงของเซลล์สมอง ซึ่งยังไม่ทราบสาเหตุ
Secondary dementia
เกิดจากโรคต่างๆที่ทราบสาเหตุ เป็นผลจากโรคทางกายอื่นที่มีผลกระทบทำให้เกิดอาการสมองเสื่อม
ความแตกต่างระหว่างอัลไซเมอร์และโรคหลอดเลือดสมอง
อัลไซเมอร์
เนื้อสมองตายทั่วไปพร้อมๆกัน ลดลงทุกๆด้าน
โรคเลือดสมอง
เนื้อสมองจะตายบางส่วน ผิดปกติเฉพาะด้าน
ปัจจัยเสี่ยง
โรคหลอดเลือดสมอง
โรคประจำตัว
ผู้หมีระดับฮอร์โมนเพศหญิงต่ำมานาน
สูบบุหรี่ ดื่มสุราหรือสารเสพติด
นำ้หนักตัวเกินขาดการออกกำลังกาย
อาการและอาการแสดง
บกพร่องด้านความจำสิ่งใหม่
พูดทวนเรื่องเก่า ถามซ้ำในคำถามเดิม
ลืมชื่อคนในครอบครัว
จำเหตุการณ์ปัจจุบันไม่ได้
บกพร่องด้านการเรียนรู้สิ่งใหม่
การเรียนรู้ลดลง
ขาดสมาธิ
ไม่สามารถตัดสินใจได้ คิดเลยไม่ได้
บกพร่องในการประกอบกิจกรรมที่ซับซ้อนหลายขั้นตอน
ไม่สามรถคิดเงินหรือทำบัญชีได้
ไม่สามารถจ่ายกับข้าวมาประกอบอาหารได้
ไม่สามารถปรุงอาหารได้
ไม่สามารถต่อโทรศัพท์หรือพูดโทรศัพท์ได้
บกพร่องในหารตัดสินใจแก้ปัญหา
มีการตัดสินใจแย่ลง
ไม่กล้าตัดสินใจหรือตัดสินใจผิดพลาด
ไม่สามารถทำกิจกรรมหลายอย่างในเวลาเดียวกันได้
หลงทาง
เดินออกจากบ้านแล้วหาทางกลับบ้านไม่ได้
เดินเล่นในสวนใกล้บ้านแต่กลับบ้านไม่ถูก
บกพร่องในการใช้ภาษา
พูดไม่ค่อยเป็นประโยค
พูดตะกุกกตะกัก นึกชื่อสิ่งของไม่ได้
บกพร่องในการประกอบกิจกรรมที่เคยทำได้มาก่อน
บกพร่องในการเขียน
ไขกุญแจไม่ได้
เดินช้าลง ไม่มั่นคง เดินขาลาก
อาการเลวลงเวลาพลบค่ำ
Sundown syndrome
แสงสว่างลดลง มองเห็นได้ยาก แปลสิ่งที่เห็นผิดไป เกิดอาการต่อต้านและก้าวร้าวโวยวาย
พฤติกรรมแปลๆและมีบุคลิกภาพเปลี่ยนแปลง
กลายเป็นคนเฉยเมย เฉื่อยชา ซึมเศร้า ไม่กระตือรือร้น
มีการเปลี่ยนแปลงด้านอารมณ์อย่างรวดเร็ว
หลีกเลี่ยงการออกไปพบปะผู้คน
เดินไปมาอย่างไร้จุดหมาย หลงผิด ประสาทหลอน
ขโมยสิ่งของ สะสมของ
มีพฤติกรรมทางเพศผิดไป ไม่ยอมใส่เสื้อผ้า เล่นอวัยวะเพศ
ระยะการดำเนินของโรค
ระยะแรก
ช่วยเหลือตัวเองได้ เคลื่อนไหวช้าลง
มีอาหารหลงลืมไม่มาก พูดช้าลง นึกคำพูดไม่ได้
การรับรู้และสมาธิเสื่อมลง
บุคลิกเฉื่อยชา
อารมณ์ไม่เบิกบาน โกรธง่าย หงุดหงิด คิดว่าจะมีคนมาทำร้าย
ระยะปานกลาง
ช่วยเหลือตนเองได้น้อยลง
ไม่สนใจสิ่งแวดล้อมมการงานหรือบุคคล
ไม่รับรู้เวลา สถานที่ บุคคล
ไม่รู้ว่าตนเองอยู่ที่ไหนจำคนหรือชื่อคนไม่ได้
บุคลิกภาพและสติปัญญาเปลี่ยนแปลง อารมณ์แปรปรวน ก้าวร้าว
มีอาการของกลุ่มอาการ sundown syndrome
ระยะรุนแรง
จำเตุการณ์ไม่ได้ ทั้งอดีตและปัจจุบัน
จำคนสนิทไม่ได้
พูดลิ้นรัว ขาดเป็นช่วงๆ
ทเบื่ออาหาร
มีอาการสับสน กระวนกระวาย
เงียบและแยกตัว
กลั้นอุจจาระและปัสสาวะไม่ได้
ส่วนใหญ่มักมักเสียชีวิตจากโรคแทรกซ้อน
การวินิจฉัย
ซักประวัติและตรวจร่างกาย
ตรวจคัดกรองเบื้องต้นว่ามีอาการซึมเศร้าหรือไม่
ทดสอบคงวามจำและประเมินความสามารถด้านสติปัญญา
หลักการรักษา
รักษาต้นเหตุ
รักษาตามอาการ
การรักษาโดยใช้ยา
การป้องกัน
รับประทานอาหารให้ครบหมู่
หลีกเลี่ยงอาหารไขมันอิ่มตัวและโดคเลสเตอรอลสูง
รับประทานอาหารทะเลให้มาก
ควบคุมน้หนักตัวไม่เกินเกณฑ์
ฝึกฝนสมอง
ออกกำลังกายสม่ำเสมอ
การพูดคุยพบปะกับผู้คนบ่อยๆ
ตรวจสุขภาพประจำปีหรือถ้ามีโรคประจำตัวที่สำคัญให้ติดตามการรักษา
ระมัดระวังเรื่องอุบัติเหตุต่อสมอง
ปฏิบัติกิจกรรมอย่างมีสติ
หลักเลี่ยงพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะสมองเสื่อม
ประเมินปัญหาและความต้องการ
ให้ความรู้และคำแนะนำในการดูแล
ส่งเสริมให้ผู้ป่วยทำกิจวัตรประจำวันได้นานที่สุด
การสื่อสารและการใช้ภาษา
พูดช้าๆ อธิบายสั้น เพียงเรื่องเดียว
ไม่ควรใช้คำถามที่ต้องแปลความหรือตัดสินใจ
การถามคำถามซ้ำ
การเลือกเสื้อผ้าและการแต่งตัว
อาการหวาดระแวงและกล่าวโทษผู้อื่น
พฤติกรรมต่อต้านการก้าวร้าว มีอารมณ์รุนแรงและเปลี่ยนแปลงง่าย
พฤติกรรมในการเดินหลงทาง
พฤติกรรมการขโมยของและสะสมของ
พฤติกรรทางเพศไม่เหมาะสม
การแก้ไขปัญหาพฤติกรรมที่เบี่ยงเบนจากปกติ
การป้องกันภาวะแทรกซ้อน
การรักษาหน้าที่ขของสมองให้คงอยู่มากที่สุด
การส่งเสริมภาวะทางด้านจิตสังคมและลดอาการซึมเศร้า
การพยาบาลญาติ
ควรเรียนรู้และทำความเข้าใจ
พยายามทำจิตใจให้สดใส มีอารมณ์สดชื่น สนุกสนาน
แก้ไขอารมณ์และพฤติกรรมที่เป็นปัญหามากที่สุดก่อน
พักผ่อนเพียงพอเนื่องจากการที่ต้องดูแลคนไข้ติดต่อกันตลอด
ยืดหยุ่น ใช้ความรู้สึก สัญชาตญาณและจินตนาการในการดูและ
ภาวะสับสนเฉียบพลัน (Delirium)
อาการ
มีอาการเฉียบพลัน มีการเปลี่ยนแปลงของระดับความรู้สึกตัว ความจำ การใช้ภาษาและการคิดอย่างเป็นระบบ
ระยะนำอาจมีอาการอ่อนเพลีย ไม่มีสมาธิ หงุดหงิด วิตกกังวล ไวต่อสิ่งเร้า
การสูญเสียความจดจ่อ
ความจำเสื่อม
กระวนกระวาย
เฉยเมย
ปัญหารการนอน ตื่นกลางคืนและหลับกลางวัน
อารมณ์แปรปรวน
อาจเห็นภาพหลอนหรือหูแว่ว
อาการทางระบบประสาท
อาการเตือน
มีอาการเปลี่ยนแปลงของสภาวะจิตใจอย่างรวดเร็ว
มีอาการผิดปกติทางจิตประสาท
กำลังมีโรคทางกาย
ได้ยาบางชนิด
มีอาการเห็นภาพหลอน
พูดจาสับสน หรือหลงวัน เวลา สถานที่ และบุคคล
ตรวจคลื่นสมองพบ diffuse slow wave หรือ epileptiform discharge
ชนิด
Hyperactive
วุ่นวายหลงลืม เห็นภาพหลอน
Hypoactive
เงียบ ซึม สับสน เฉยเมย นอนมาก
Mixed
มีอาการสลับไปมา
การใช้เกณฑ์ Confusion assessment method
เริ่มมีอาการแบบเฉียบพลัน
Inattenton
มีความคิดไม่เป็นระบบ
มีการเปลี่ยนแปลงระดับความรู้สึก
ปัจจัยกระตุ้น
ยา
โรคที่เกิดร่วม
โรคระบบประสาท
การผ่าตัด
สิ่งแวดล้อม
การอดนอนเป็นเวลานาน
สาเหตุ
ความผิดปกติของสารสื่อประสาท
cholinergic deficiency
dopamine
การอักเสบ และความเครียดเรื้อรังจากการเจ็บป่วย
มีการกระตุ้น sympathetic และ hypothalamic
การดำเนินของโรค
เมื่อแก้ไขสาเหตุได้ มักจะดีขึ้นภายในเวลาเป็นวัน หรือสัปดาห์ แต่มีเพียงร้อยละ 18 ที่ฟื้นกลับมาเป็กปกติสมบูรณ์
การป้องกัน
ดูแลให้ได้รับออกซิเนอย่างเพียงพอ
ลดอาการเจ็บป่วย
ดูแลการขับถ่าย
หยุดยาที่ไม่จำเป็น
ดูแลให้ได้รับอาหารที่เหมาะสม
กระตุ้นให้มีการเคลื่อนไหวตั้งแต่ระยะแรก
การปรับสภาพแวดล้อม
การรักษาและการพยาบาล
ค้นหาสาเหตุ
การดูแลประคับประคอง
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง
ให้สารน้ำ สารอาหารให้เพียงพอ
พลิกตะแคงตัวทุก 2 ชั่วโมง
หลีกเลี่ยงการใช้อุปกรณ์ยึดตรึงผู้ป่วย ทำให้ยิ่งวุ่ยวายมากขึ้น
ดูแลเรื่องการขับถ่าย และความสะอาดของร่างกาย
ดูแลสภาพแวดล้อม
การปรับให้โล่ง
การช่วยให้ผู้ป่วยประกอบิจวัตรประจำวันได้
การให้ยา
โรคอัลไซเมอร์ (Alzheimer's disease: AD)
สาเหตุ
จากความผิดปกติในเนื้อสมอง
กลุ่มใยประสาทพันกัน
มีสาร beta amyloid
การอักเสบ inflammatory สาร amyloid
กรรมพันธุ์
อายุ
โรคความดันโลหิตสูงเรื้อรัง
อาการและอาการแสดง
ความผิดปกติที่พบ
ความผิดปกติของความจำ
การใช้ภาษา
การรัยรู้ภาพ
ระยะแรก
มีปัญหาความจำ การเรียนรู้สิ่งใหม่และลืมเหตุการณ์ที่พึ่งเกิดขึ้น
ระยะกลาง
เริ่มมีปัญหาในการทำกิจวัตรประจำวัน และมีีปัญหาทางพฤติกรรมและอารมณ์
ระยะสุดท้าย
สื่อสารได้ลดลง มีพฤติกรรมซ้ำๆ มีปัญหาการทรงตัว จำญาติไม่ได้ หรือลืมชื่อตนเอง
การรักษาและการพยาบาล
ยังไม่มีการรักษาที่ช่วยชะลอหรือหยุดการดำเนินโรค
การกระตุ้นทางจิตใจ
การออกกำลังกายและรับประทานอาหารให้ครบทุกหมู่
การบำบัดและรักษาเป็นสิ่งที่สำคัญเนื่องจากเป็นความเสื่อมที่รักษาไม่หาย
Parkinson's Disease
เกิดจากความเสื่อมของ CNS ส่วนี่ควบคุมการเคลื่อนไหว
พบในชายมากกว่าหญิง
สาเหตุ
ยังไม่ทราบแน่ชัด แต่พบภาวะ toxicity (สารพิษที่เป็นโลหะหนัก)
อาการและอาการแสดงของโรค
แตกต่างกันในแต่ละคน ขึ้นกับสาเหตุของการสั่น
dopamine ลดลง
การสั่นของมือและเท่าเป็นสาเหตุแรกๆ
สั่นมากขณะพัก
กล้ามเนื้อแข็งตึง
การเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อที่อยู่ในอำนาจจิตใจทำได้ช้า
กล้ามเนื้ออ่อนแรง ตามี drooling หน้าเหมือนใส่หน้ากาก การแสดสีหน้าทำได้ยาก
สูญเสียรีเฟล็กซ์การทรงตัว
ท่าทางเดิน
ศีรษะก้มลง ตัวงอไปข้างหน้า ไหล่ห่อและแขนงอ เดินลากเท้า ก้าวได้สั้นๆ เสี่ยงต่การหกล้ม
ผลต่อระบบประสาทอัตโนมัติทำให้ทีน้ำลายออกมาก กลืนลำบาก เหงื่ออกมาก กลั้นปัสสาวะไม่อยู่
เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจ
สาเหตุการตายที่สำคัญคือภาวะแทรกซ้อนและอุบัติเหตุ
การรักษาพยาบาล
การรักษาด้วยยา
การควบคุมอาการไม่ให้รุนแรง
การรักษาด้วยการผ่าตัด
ทำบางรายเพื่อรักษาอาการสั่นและการแข็งเกร็งของก้ามเนื้อ
การพยาบาล
อาหาร
ซุปข้น
กิจกรรมควรให้มีการเคลื่อนไหว
การกายภาพบำบัด
ภาวะสับสน (Confusion)
การตรวจเพื่อวินิจฉัย
brain and nervous system
Cognitive test
Blood and urine tests
EEG
อาการที่เกิดแบบทันที
Cold or clammy skin
Dizziness or feeling faint
Fast pulse
Fever
Headache
Slow or rapid breathing
Uncontrolled shivering
การพยาบาล
ถ้าพบว่าเป็น confused person ต้องดูแลใกล้ชิดไม่ปล่อยให้อยู่ตามลำพัง
จัดสภาพโดยรอบให้เงียบสงบ
แนะนำให้เลิกบุหรี่ สุรา
รับประทานอาการที่มีวิตามินและเกลือแร่สูง
ดูแลควบคุมโรคที่เป็นอยู่
ดูแลให้ยา รักษาสาเหตุเท่าที่จำเป็น
ดูแลให้นอนหลับได้เพียงพอ
การฆ่าตัวตาย (Suicide)
สาเหตุ
ภาวะซึมเศร้า
การเจ็บป่วยทางกายหรือการเจ็บป่วยทางจิต
การสูญเสียคู่ครอง
การติดสารเสพติด
อาการและอาการแสดง
อาการไม่สนใจในการรับประทานอาหาร ปฏิเสธการรับประทานยา ปฏิเสธการรักษา ทำในสิ่งที่เสี่ยงตาย
การประเมิน
Recent losses
Lifestyle change
New or worsening health problems
New symptoms of depression
Family history suicide
การรักษาและการพยาบาล
การซักประวัติ
ผู้ที่จะฆ่าตัวตายต้องได้รับการป้องกัน
จัดสภาพแวดล้อมให้ปลอดภัย
ให้พูดระบายความเครียด
พยาบาลต้องแสดงความตั้งใจ ตั้งใจฟัง แสดงความเข้าใจ เห็นใจ
ควรมีท่าทีมั่นคง แสดงความเห็นใจชัดเจน
ไม่ปล่อยให้อยู่คนเดียว