Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Plant tissus - Coggle Diagram
Plant tissus
Permanent tissus
SImple permanent tissue
Collenchyma
-
- เซลล์มีรูปร่างหลายเหลี่ยมค่อนข้างยาว
- ผนังเซลล์หนาไม่สม่ำเสมอมักหนาตามมุมเซลล์ เพราะมี สารพวกเพคตินมาสะสม (Pectin)
- เมื่อโตเต็มที่เซลล์ยังมีชีวิต
บริเวณที่พบ พบมีอยู่มากทั้งในส่วนอ่อนและส่วนแก่ของพืช ของพื้นที่บริเวณใต้ชั้นเอพิเอเดอร์มิสลงมา พบที่ก้านใบ เส้นกลางใบ และขอบนอกของลำต้นพวกไม้เนื้อ อ่อน ที่มีลักษณะเป็นเหลี่ยมหรือเป็นสันโค้งไปมา เช่น ลำต้นโหระพา กระเพรา หรืออาจกระจายไปสม่ำเสมอกันตามขอบในของลำต้นที่กลมเกลี้ยงของลำต้นผักขม หน้าที่ ช่วยทำให้ส่วนต่างๆของพืชเหนียวและแข็งแรงทรงตัวอยู่ได้ และยังช่วยป้องกันแรงเสียดทานอีกด้วย
Sclerenchyma
เป็นเซลล์ที่ให้ความแข็งแรงแก่ส่วนต่างๆของพืช มักจะกระจายอยู่เป็นกลุ่มๆ ผนังเซลล์หนาและแข็งแรง เพราะมีสารพวก lignin ความหนาของ เซลล์ Sclerenchyma ต่างกับ Collenchyma ที่ความหนาจะสม่ำเสมอกันตลอด ที่เซลล์มีรูเล็กๆ เรียก pit canal เมื่อเติบโตเต็มที่แล้วเซลล์จะตาย บริเวณกลางเวลล์ที่เคยมี ไซโทพลาซึมอยู่ จะกลายเป็นที่ว่างเพราะไซโทรพลาซึมแห้งไปเรียกบริเวณกลางเซลล์ว่า Lumen Sclerenchyma แบ่งออกเป็น 2 พวก ตามรูปร่าง คือ
- fiber เป็นเซลล์ที่มีรูปร่างหลายเหลี่ยมและยาว อยู่รวมกันเป็นกลุ่ม พบในพืชที่ให้เส้นใยต่างๆ เช่น ป่าน ปอ สับปะรด เป็นต้น นอกนั้นยังพบในกลุ่มของท่อน้ำ ท่ออาหาร
- Sclereid เป็นเซลล์ที่มีรูปร่างสั้นกว่า fiber พบกระจายอยู่ในชั้นเปลือกของลำต้นพืชใบเลี้ยงคู่ เปลือกผลไม้ที่แข็ง เช่น กะลามะพร้าว เป็นต้น สเกอรีดมีรูปร่างไม่แน่นอน ผนังเซลล์หนา มีลูเมนและพิทเหมือนกับไฟเบอร์ แต่พิทแตกแขนงมากกว่า
Parenchyma
เป็นเซลล์พืชพื้นฐานที่พบได้ทั่วไปตลอดทั้งต้นพืช หน้าที่ขึ้นอยู่กับตำแหน่งที่พบ เช่น อยู่ที่ใบ ทำหน้าที่สังเคราะห์ด้วยแสง ในลำต้นและรากช่วยในการลำเลียงและเก็บสะสมอาหาร ในใบจะมีพาเรงไคมาสองชนิด คือ พาลิเซด พาเรงไคมา (palisade parenchyma) มีลักษณะกลมหลายเหลี่ยม หรือยาว การเรียงตัวมักมีช่องว่างระหว่างเซลล์ ทำหน้าที่เก็บสะสมอาหาร ลำเลียงน้ำ สังเคราะห์ด้วยแสง อยู่หนาแน่นทางด้านบนของใบ กับ สปอนจี พาเรงคิมา (spongy parenchyma) เป็นชั้นที่เซลล์เรียงตัวกันหลวมๆ
Cork หรือ Phellem
กิดจากการแบ่งตัวของ cork cambium หรือ corkเติบโตเต็มที่แล้ว โพรโทพลาสซึมและเยื่อหุ้มจะสลายไปเหลือเฉพาะผนังเซลล์ที่มี suberin และ cuticle สะสมซึ่งน้ำจะไม่สามารถผ่านได้ เนื้อเยื่อชั้น cork phellogen และ phelloderm
Epidermis
เป็นบริเวณชั้นนอกสุดของผิวหนัง ทำหน้าที่ป้องกันไม่ให้น้ำซึมเข้าหรือออกจากร่างกาย และห่อหุ้มร่างกาย ประกอบด้วยเซลล์เนื้อเยื่อบุผิวประเภทสแตรทิฟายด์ สแควมัส (stratified squamous epithelium) รองรับด้วยเบซัล ลามินา (basal lamina)
Complax premanent tissue
Xylem
Xylem parenchyma
มี รูปร่างเป็น ทรงกระบอกหน้าตัดกลมรีหรือหน้าตัดหลายเหลี่ยม มีผนังเซลล์บางๆ เรียงตัวกันตามแนวลำต้นพืช เมื่อมีอายุมากขึ้นผนังเซลล์จะหนาขึ้นด้วย เนื่องจากมีสารลิกนิน (lignin) สะสมอยู่ และมีรูเล็กๆ (pit) เกิดขึ้นด้วย ไซเล็มพาเรนไคมาบางส่วนจะเรียงตัวกันตามแนวรัศมีของลำต้นพืช เพื่อทำหน้าที่ลำเลียงน้ำและแร่ธาตุต่างๆ ไปยังบริเวณด้านข้างของลำต้นพืช พาเรคิมาทำหน้าที่สะสมอาหารประเภทแป้ง น้ำมัน และสารอินทรีย์อื่นๆ รวมทั้งทำหน้าที่ลำเลียงน้ำและแร่ธาตุต่างๆ ไปยังลำต้นและใบของพืช
Tracheid
เป็นเซลล์เดี่ยว มีรูปร่างเป็นทรงกระบอกยาว บริเวณปลายเซลล์แหลม ทำหน้าที่เป็นท่อลำเลียงน้ำและแร่ธาตุต่างๆ โดยจะลำเลียงน้ำและแร่ธาตุไปทางด้านข้างของลำต้นผ่านรูเล็กๆ (pit) เทรคีดมีผนังเซลล์ที่แข็งแรงจึงทำหน้าที่เป็นโครงสร้างค้ำจุนลำต้นพืช และผนังเซลล์มีลิกนิน (lignin) สะสมอยู่และมีรูเล็กๆ (pit) เพื่อทำให้ติดต่อกับเซลล์ข้างเคียงได้ เมื่อเซลล์เจริญเต็มที่จนกระทั่งตายไป ส่วนของไซโทพลาซึมและนิวเคลียสจะสลายไปด้วย ทำให้ส่วนตรงกลางของเซลล์เป็นช่องว่าง ส่วนของเทรคีดนี้พบมากในพืชชั้นต่ำ (vascular plant) เช่น เฟิน สนเกี๊ยะ เป็นต้น
Xylem fiber
เป็น เซลล์ที่มีรูปร่าง ยาวแต่สั้นกว่าไฟเบอร์ทั่วๆ ไป ตามปกติเซลล์มีลักษณะปลายแหลม มีผนังเซลล์หนากว่าไฟเบอร์ทั่วๆ ไป มีผนังกั้นเป็นห้องๆ ภายในเซลล์ ทำหน้าที่เป็นโครงสร้างค้ำจุนและให้ความแข็งแรงแก่ลำต้นพืช
Vessel
เป็นเซลล์ที่มีขนาดค่อนข้างใหญ่ แต่สั้นกว่าเทรคีด เป็นเซลล์เดี่ยวๆ ที่ปลายทั้งสองข้างของเซลล์มีลักษณะคล้ายคมของสิ่ว ที่บริเวณด้านข้างและปลายของเซลล์มีรูพรุน ส่วนของเวสเซลนี้พบมากในพืชชั้นสูงหรือพืชมีดอก ทำหน้าที่เป็นท่อลำเลียงน้ำและแร่ธาตุต่างๆ จากรากขึ้นไปยังลำต้นและใบเทรคีดและเวสเซลเป็นเซลล์ที่มีสารลิกนินมาเกาะที่ผนังเซลล์เป็น จุดๆ โดยมีความหนาต่างกัน ทำให้เซลล์มีลวดลายแตกต่าง กันออกไปหลายแบบ ตัวอย่างเช่น
-
-
-
-
-
Phloem
Companiancell
เป็นเซลล์ที่อยู่ติดกับ Sieve tube memberโตเต็มที่มีชีวิตตลอด ผนังเซลล์บาง ทำหน้าที่สร้างสารที่จำเป็นส่งให้กับ Sieve tube member
Phloem parenchyma
เป็นเซลล์ที่มีชีวิต ทำหน้ามี่ลำเลียงอาหารทั้งในแนวดิ่งและในแนวรัศมี ถ้าลำเลียงอาหารในแนวรัศมี เรียก phloem ray
Sieve tube member
เป็นเซลล์รูปร่างทรงกระบอกยาวที่ปลายผนัง 2 ด้านจะมีรูพรุนเรียก Seive plate Sieve tube memberหลายเซลล์มาเรียงต่อกันเรียกว่าSieve tubeSieve tube memberเมื่อโตเต็มที่นิวเคลียสจะสลายไปเพื่อให้การลำเลียงอาหาร มีประสิทธิภาพมากขึ้น พบเฉพาะในพืชดอก
-
Meristem
แบ่งตามบริเวณที่พบ
Apical meristem
-
เมื่อแบ่งเซลล์จะทำให้รากยาวขึ้น หากพบบริเวณปลายยอดเรียก เนื้อเยื่อเจริญปลายยอด (Apical shoot meristem)
-
-
Lateral meristem
Vascular cambium)
ลุ่มเซลล์ Meristem จะอยู่ในแนวขนานกับเส้นรอบวง มีการแบ่งเซลล์ เพื่อเพิ่มจำนวนออกทางด้านข้าง ทำให้รากและลำต้นขยายขนาดใหญ่ขึ้น พบในพืชใบเลี้ยงคู่ทั่วไปและในพืชใบเลี้ยงเดียวบางชนิด เช่น หมากผู้หมากเมีย จันทน์ผา เป็นต้น เนื่อเยื่อเจริญชนิดนี้เรียกอีกอย่างว่า แคมเบียม (Cambium) ถ้าพบอยู่ระหว่างเนื้อเยื่อท่อลำเลียงน้ำและเนื้อเยื่อท่อลำเลียงอาหารจะเรียกว่า วาสคิวลาร์แคมเบียม (Vascular cambium)
-
Cork cambium
แคมเบียม (cambium)คือ เนื้อเยื่อเจริญส่วนข้างของต้นไม้ เป็นกลุ่มเซลล์เนื้อเยื่อที่แทรกอยู่ระหว่างเนื้อเยื่อท่อลำเลียงของรากกับลำต้นของพืชพวกใบเลี้ยงคู่ที่มีเนื้อไม้
การเจริญจากเนื้อเยื่อประเภทนี้ว่า การเจริญเติบโตขั้นที่สอง (secondary growth) ยังผลให้ต้นพืชเจริญด้านข้างวนที่เป็นเนื้อเยื่อเจริญที่เป็นองค์ประกอบของเปลือกคือ คอร์กแคมเบียม (cork cambium) หรือ เฟลโลเจน (phellogen) เนื้อเยื่อป้องกันนี้เกิดขึ้นที่ใต้ผิวชั้นนอกของรากและลำต้น
เพื่อแบ่งเซลล์และสร้างเนื้อเยื่อ ให้มาทำหน้าที่ป้องกันอันตรายและความเสียหายแทนเนื้อเยื่อผิวนอก (epidermis)ที่ใกล้หมดอายุและสร้างกลุ่มเซลล์ชั้นเฟลโลเดิร์ม (phelloderm) เพิ่มด้านใน
เราเรียกชั้นเซลล์ตั้งแต่คอร์ก (cork) ชั้นนอกสุดจนถึงชั้นเฟลโลเดิร์ม ว่า เพอริเดิร์ม (periderm) เป็นองค์ประกอบส่วนหนึ่งของเปลือก
-
Intercalary meristem
เป็นเนื้อเยื่อเจริญที่อยู่ระหว่างข้อตรงบริเวณเหนือข้อล่าง หรือโคนของปล้องบน มีการแบ่งเซลล์ได้ยาวนานกว่า
เนื้อเยื่อบริเวณอื่นในปล้องเดียวกันทำให้ปล้องยาวขึ้น พบในพืชใบเลี้ยงเดี่ยวทั่วไป เช่น หญ้า ข้าว ข้าวโพด อ้อย และไผ่
-
แบ่งตามหน้าที่
Procambium
เป็น Primary meristem ที่แบ่งตัว และเจริญมาจาก Promeristem แล้วจะแบ่งตัวเจริญเติบโต เปลี่ยนแปลงต่อไปเป็นเนื้อเยื่อถาวรในบริเวณชั้นในสุดที่เรียกว่า Vascular Tissue ทำหน้าที่เป็นท่อในการลำเลียงน้ำ เกลือแร่ และอาหารต่าง ๆ
Ground meristem
]
ได้จากการแบ่งตัว และเจริญเติบโตมาจาก Promeristem แล้วจะแบ่งตัวเจริญเติบโตเปลี่ยนแปลงต่อไป
เป็นเนื้อเยื่อถาวรในบริเวณที่เรียกว่า Cortex ซึ่งอยู่ถัดจาก epidermis เข้าไปข้างใน และยังจะไปเป็น Pith และ Pith ray (ในลำต้น) อีกด้วย
Cortex ทำหน้าที่เป็นแหล่งสะสมอาหาร และขณะที่ยังอ่อนอยู่ก็ทำหน้าที่ เป็นแหล่งสร้างอาหารและป้องกันด้วย ส่วน Pith และ Pith ray ยังทำหน้าที่ลำเลียงน้ำเกลือแร่ และอาหารไปทางด้านข้างอีกด้วย**
Protoderm
ได้จากการแบ่งตัวและเจริญเติบโตมาจาก Promeristem แล้วจะแบ่งตัว เจริญเติบโตเปลี่ยนแปลงต่อไป เป็นเนื้อเยื่อถาวรในบริเวณที่ เรียกว่า Epidermis ซึ่งอยู่ชั้นนอกสุดเซลล์เรียงตัวกันเพียงแถวเดียวเท่านั้น ทั้งนี้เพราะ Protoderm มีการแบ่งตัวเพียงด้านเดียวสำหรับ epidermis นี้มีหน้าที่ป้องกันเยื่อที่อยู่ถัดเข้าไปข้างในได้จากการแบ่งตัวและเจริญเติบโตมาจาก Promeristem แล้วจะแบ่งตัว เจริญเติบโตเปลี่ยนแปลงต่อไป เป็นเนื้อเยื่อถาวรในบริเวณที่ เรียกว่า Epidermis ซึ่งอยู่ชั้นนอกสุดเซลล์เรียงตัวกันเพียงแถวเดียวเท่านั้น ทั้งนี้เพราะ Protoderm มีการแบ่งตัวเพียงด้านเดียวสำหรับ epidermis นี้มีหน้าที่ป้องกันเยื่อที่อยู่ถัดเข้าไปข้างใน
-
-