Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
plant tissue, image, image - Coggle Diagram
plant tissue
เนื้อเยื่อถาวร (Permanent Tissue) คือ เนื้อเยื่อที่เซลล์ไม่มีการแบ่งตัว มีรูปร่างแน่นอน เซลล์มีแวคิวโอลขนาดใหญ่ ผนังเซลล์หนาเนื่องจากมีการสะสมสารต่างๆ มากขึ้น
-
เนื้อเยื่อถาวรเชิงซ้อน (Complex permanent tissue)
เป็นเนื้อเยื่อถาวรที่ประกอบขึ้นด้วยเซลล์หลายชนิดอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม ที่เรียกว่า มัดท่อลำเลียง (vascular bundle)
-
โฟลเอ็ม (Phloem)ทำหน้าที่ลำเลียงอาหารที่ได้จากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง หรือจากการสลายอาหารที่สะสม ส่งไปยังส่วนต่างๆ ของพืช
เซลล์ประกบ (companion cell) มีต้นกำเนิดมาจากเซลล์แม่เดียวกันทำหน้าที่สร้างพลังงานให้กับเซลล์ท่อลำเลียงที่ตายแล้วและที่ต้องการพลังงาน
เซลล์พาเรงคิมา (Phloem parenchyma) ภายในเซลล์มักพบว่ามีการสะสมผลึก แทนนิน เมล็ดแป้ง หรือน้ำยาง ต่างๆ เอาไว้
เซลล์ท่อลำเลียงอาหาร (sieve tube member)รูปร่างเป็นแผ่นตะแกรง (sieve plate) ซึ่งเป็นแผ่นที่มีรูพรุนทำให้ไซโทพลาสซึมภายในผ่านไปมาระหว่างเซลล์ที่อยู่ติดกันได้
-
เนื้อเยื่อเจริญ (Meristematic Tissue) คือ เนื้อเยื่อที่ประกอบด้วยเซลล์ที่มีการแบ่งตัวแบบ ไมโทซิสอยู่ตลอดเวลา แต่ละเซลล์ในเนื้อเยื่อนี้เรียกว่า เซลล์เริ่มต้น (initial cell)
แบ่งตามหน้าที่
-
-
โพรโทเดิร์ม (Protoderm)เนื้อเยื่อที่อยู่นอกสุด กลุ่มเซลล์เหล่านี้อยู่บริเวณที่เรียกว่าเซลล์ยืดตัวและขยายขนาดแล้วค่อย ๆ เปลี่ยนแปลงต่อไป
แบ่งตามบริเวณที่พบ
เนื้อเยื่อเจริญส่วนปลาย (Apical meristem)ทำหน้าที่ในการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส เพื่อเพิ่มจำนวนเซลล์ทำให้ส่วนปลายยอดและ ปลายรากของพืชมีการยืดยาว
เนื้อเยื่อเจริญปลายราก (root apical meristem)
เนื้อเยื่อเจริญปลายยอด (Shoot apical meristem)
-
เนื้อเยื่อเจริญด้านข้าง (Laterral meristem) มีการแบ่งเซลล์ออกทางด้านข้างทำให้เกิด การเจริญเติบโตทุติยภูมิ (Secondary growth)*
แคมเบียมท่อลำเลียง (vascular cambium)มีหน้าที่ สร้าง secondary xylem และ secondary pholem พบในพืชใบเลี้ยงคู่ทุกชนิด และพืชใบเลี้ยงเดี่ยวบางชนิด
-
เนื้อเยื่อเจริญเหนือข้อ (Intercalary meristem)ปล้องยืดยาวขึ้นซึ่งมีฮอร์โมนจิบเบอเรล-ลิน(Gibberellins) เข้ามาเกี่ยวข้องส่วนใหญ่พบในพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
-
-
-