Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบคอมพิวเตอร์ (Computer System), ระดับชั้นการทำงานของระบบปฏิบัติการ -…
ระบบคอมพิวเตอร์
(Computer System)
ระบบปฏิบัติการแบบกลุ่มอย่างง่าย
(Simple Batch Systems)
หน้าที่ของระบบปฏิบัติการแบบกลุ่ม จะทำการอ่านข้อมูลโดยผ่านเครื่องอ่านการ์ด ซึ่งแต่ละการควบคุม (control card) จะทำการควบคุมการประมวลผลงานไปจนกระทั้งสำเร็จงาน และ พิมพ์งาน (print) ออกมา ระบบปฏิบัติการแบบกลุ่มจะไม่มีการปฏิสัมพันธ์(interaction) ระหว่างผู้ใช้และงานในขณะที่โปรแกรมทำการโปรเซสโดยหน่วยประมวลผลหลัก โดยความล่าช้า ระหว่างช่วงที่มีการเปลี่ยนงานถึงงานเสร็จจะเรียกว่า turnaround time
..การพิมงานในระบบคอมพิวเตอร์ ระบบจะไม่มีการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ใช้
ระบบปฏิบัติการแบบกลุ่มหลายโปรแกรม
(Multi-programmed Batched Systems)
ระบบปฏิบัติการจะเก็บงานซึ่งประกอบด้วยงาน 4 งานคือ job1, job2, job3, job4 ไว้ในความจำ และงานสามารถที่จะทำงานไปพร้อมกับกันได้
ตัวอย่างเช่นการทำงานของ CPU ที่สามารถทำงานได้เช่น การเปิดโปรแกรมทำงานมากกว่า 1 โปรแกรม
เป็น program ที่สามารถทำงานไปพร้อมๆกันได้ เช่น คุณหมอตรวจผู้ป่วย ในขณะที่พยาบาลเก็บข้อมูลของคนไข้ และเจ้าหน้าห้องแลปทำการวิเคราะห์ผลแลปสำหรับคนไข้ ซึ่งทั้งสามสามารถทำงานไปพร้อมกันได้เราจึงเรียกการทำงานนี้ว่า Multiprogrammed Batched system
ระบบปฏิบัติการแบบทำงานโต้ตอบ (interactive)
เป็นระบบปฏิบัติการที่แบบทำงานโต้ตอบผู้ใช้ได้ทันที ยกตัวอย่างเช่น การให้บริการขอองตู้ ATM เมื่อผู้ใช้ต้องการทำธุรกรรม เล่นการถอนเงิน ระบบจะทำการโต้ตอบกับผู้ใช้ตั้งแต่รับรหัสผ่านจนถึงระบบจ่ายเงินให้
การติดตั้งโปรแกรมบน ระบบคอมพิวเตอร์ จะมีการโต้ตอบเมื่อเริ่มติดตั้งขจนถึงติดตั้งเสร็จสิ้น
ระบบปฏิบัติการแบบคู่ขนาน (Parallel
Systems)
จะประกอบด้วยตัวประมวลผลหรือ CPU จำนวนหลายตัว แต่ทุกๆตัวจะมีการใช้หน่วยคึวามจำร่วมกัน หรือ มีการใช้ฮาร์ดแวร์ร่วมกัน ข้อดีในส่วนของปริมาณงานจะมีความเพิ่มขึ้น แต่การเพิ่มขึ้นของจำนวนงานไม่ได้เพิ่มขึ้นเป็นจำนวนเท่าของจำนวน CPU , ประหยัดในส่วนของทรัพยากรเนื่องจากว่า CPU ทุกตัวมีการใช้ทรัพยากรร่วมกัน,สร้างความน่าเชื่อถือเนื่องจากว่ามีหน่วยประมวลผลหลายตัวถ้าตัวใดตัวหนึ่งเสียหายเพียงหนึ่งตัวตัวอื่นก็สามารถทำงานทดแทนได้ เราจะเรียกว่า (fault-tolerant) ทนต่อความผิดพลาด
การที่เรามี file งาน 5 อันข้อมูลเดียวกัน เราใช้ CPU ประมวลผล เสร็จไป4 อันเสีย 1 อันเราก็สามารถที่จะเอา 4 อันไปทำอันที่ 5 ได้
#งงครับอันนี้
ระบบปฏิบัติการแบบกระจายอำนาจ
(Distributed Systems)
จะมี CPU หลายตัวเช่นเดียวกับระบบปฏิยัติการแบบ (parallel) แต่ระบบปฏิบัติการนี้แต่บะ CPU จะมีส่วนของ memory ของตัวเองเราจะเลือกเป็น local memory ข้อดีในส่วนการใช้ทรพยากรร่วมกัน โดยผ่าน network การทำงานมีความเร็วขึ้นเนื่องจาก ระบบสามารถที่จะโหลดได้ มีความน่าเชชื่อถือ สามารถทำงานแทนกันได้เมื่อเครื่องเกิดทงานไม่ได้ โดยผ่านอุปกรณ์ที่เรียกว่าเครือข่าย รวมถึงการให้บริการเครือข่ายในส่วนของอุปกรณ์ที่เป็นส่วนกลางอย่างเช่นปริ้นเตอร์เป็นต้น
เช่น การใช้เครื่อง printer ร่วมกันบนระบบคอมพิวเตอร์
ระบบเวลาจริง (Real-time Systems)
มีอยู่ 2 ระบบ 1) Hard real-time system
เป็นการทำงานที่ใช้ความจำรอมเป็นหลักโดยจะทำการควบคุมการทำงานให้ตรงต่อเวลาจะไม่มีระบบ time-sharing เช่นระบบการควมคุมการลงจอดของเครื่องบิน
การออกคำสั่งการควบคุมการทำงานของระบบคอมพิวเคอร์ เช่น ควมคุบการเปิดผิดคอมพิเตอร์
2) soft real-time system
ยังคงสนับสนุนการทำงานแบบ time-sharing เช่นการควบคุมเสียงในโรงงานอุตสาหกรรมควบคุม ควบคุมระบบการจองตั๋วเครื่องบิน
ระบบมัลติโปรเซสเซอร์ (Multiprocessor
System)
ระบบมัลติโปรเซสเซอร์ เป็นระบบที่ประกอบไปด้วยตัวประมวลผลกลาง หรือ CPU หลายตัวแบ่งได้ 4 ประเภท คือ sisd , simd, misd, mimd โดยระบบจะพิจารณาโดยคำสั่ง Instruction และจำนวนของ data
-
ระดับชั้นการทำงานของระบบปฏิบัติการ
ระดับชั้นการทำงานของโปรแกรมต่างๆ ในแบบผู้ใช้มี 4 ระดับ
2) ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
3) ซอฟต์แวร์ระบบ (Operating System)
1) ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ (User)
4) ฮาร์ดแวร์ของเครื่องคอมพิวเตอร์ (Hardware)