Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 7 การนอนหลับในผู้สูงอายุ - Coggle Diagram
หน่วยที่ 7
การนอนหลับในผู้สูงอายุ
ความหมาย
การพักผ่อนที่ดีที่สุด เป็นกิจกรรมจำเป็นในการดำรงชีวิต เช่นเดียวกับ การหายใจ การรับประทานอาการ การขับถ่าย
การนอนหลับและคลื่นไฟฟ้าสมอง
ขณะหลับและขณะตื่นมีความแตกต่างกัน
คลื่นไฟฟ้าสมองความถี่ 8-13 รอบต่อนาที เป็นคบื่นไฟฟ้ฟ้าสมองในขณะตื่นแต่หลับตา
คลื่นเบต้า เป็นคลื่นไฟฟ้าสมองขณะนอนหรือหลับในระยะแรก ช่วงที่ไม่มีการกรอกลูกตาอย่างเร็ว ความสูงคลื่นมากกว่า 30 ไมโครโวลต์ ความถี่ 13-30 รอบต่อนาที
วงจรการนอนหลับ
ระยะการนอนหลับที่ไม่มีการกลอกตาไปมาอย่างรวดเร็ว (Non rapid eye movement sleep:NREM
ระยะที่ 1
หลับตื้นแบบเคลิ้มกลับ กล้ามเนื้อเริ่มผ่อนคลาย อัตราการหายใจเริ่มช้าลง
ปกติระยะนี้ใช้เวลานาน 1-7 นาที เมื่ออายุมากขึ้นเพิ่มเป็น 8-15 นาที ทำให้หลับยากมากขึ้น
ถูกกระตุ้นได้ง่าย ทำให้ตื่นบ่อย เมื่อตื่นจะรู้สึกนอนไม่หลับ ไม่สดชื่น
ระยะที่ 2
ผ่อนคลายมากขึ้น การนอนหลับไม่มีการกลอกตาหรือมีน้อยมาก
อัตราการเผาผลาญและอุณหภูมิลดต่ำลง
สะดุ้งตื่นเมื่อถูกกระตุ้นอย่างแรง
ใบเวลา10-15 นาที
ระยะที่ 3
เริ่มหลับสนิท เกิดหลังจากเริ่มต้นการนอนหลับประมาณ 30-45 นาที
ปลุกตื่นยาก
อัตราการเผาผลาญอยู่ในระดับต่ำ
กล้ามเนื้อผ่อนคลายมากขึ้น การหายใจและความดันโลหิตลดลง
ระยะที่ 4
ระยะนี้นอนหับสนิที่สุด เกิดหลังจากนอนหลับระยะที่ 1 ประมาณ 40 นาที
หลั่ง growth hormone และฮอร์โมนอื่นๆ กระตุ้นการสังเคราะห์สิ่งต่างๆ
มีการเพิ่มขนาดของเซลล์และสะสมพลังงาน
ปัสสาวะรดที่นอน นอนกรน การฝันเปียก และเมื่อตื่นสามารถจำความฝันได้ 20%
เป็นการบ่งบอกถึงคุณภาพการนอนหลับในคืนนี้
การนอนหลับใระยะที่ 3,4 NREM ของผู้สูงอายุจะลดร้อยละ 15-20
ระยะที่มีการกลอกตาไปมาอย่างรวดเร็ว (Rapid eye movement sleep: REM)
การกระตุ้นการทำงานของสมองในบางส่วนถูกยับยั้งไว้ในขณะที่ร่างกายนอนหลับสนิท
เกิดขึนเมื่อ หลับประมาณ 90-100 นาที
ปลุกได้ยากกว่าระยะอื่นๆ กล้ามเนื้อคลายตัวอย่างเต็มที่ ไม่ตอบสนองต่อการกระตุ้น ยกเว้นกล้ามเนื้อตา
ระบบประสสาทซิมพาเธติก จะทำให้การหลั่งอะดรีนะลีนเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า ทำให้ร่างกาต้องการออกซิเจนเพิ่มมากขึ้น
อัตราการหายใจ อัตราการเต้นของหัวใจ ระดับความดันโลหิต อุณหภูมิร่างกาย ปริมาณเลือดที่ไปเลี้ยงสมองมีมากขึ้น
มีการหลั่งเหงื่อและมีการกลอกตา
ฝันเป้นเรื่องเป็นราว เมื่อตื่นขึ้นมาจำความฝันได้ร้อยละ 80
อาจมีการแสดงของใบหน้า
ระยะนี้มีการส่งเสริมความคิด ความจำ การรับรู้
การนอนในระยะน้จะลดลง 20-25%
การนอนหลับ
ระยะการนอนหลับ stage 1 NREM เพิ่ม stage 3,4 NREM and REM ลดลง
ถูกปลุกให้ตื่นง่าย
คุณภาพการนอนหลับลดลง
ตื่นนอนตอนเช้าไม่สดชื่น
หลับๆตื่นๆกลางดึกบบ่อย
ผลกระทบเนื่องจากปัญหาการนอนหลับของผู้สูงอายุ
ด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และคุณภาพชีวิตลดลง
ง่วงซึม อ่อนเพลีย อิดโรย ไม่แจ่มใส
ลดความทรงจำ โดยเฉพาะระยะสั้น ขาดสมาธิ ตอบสนองต่อสิ่งเร้าและอาจผิดพลาด
เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ
ระบบภูมิคุ้มกันทำหน้าที่ลดลง เกิดโรคติดเชื้อ
เพิ่มโอกาสใช้สารเคมีไม่เหมาะสม
ความสามารถในการทำกิจกรรมลดลง
ปัจจัยรบกวนการนอนหลับ
ด้านร่างกาย
ความสูงอายุ
เกิดการเปลี่ยนแปลงของสารเคมี โครงสร้าง และการทำหน้าที่ของระบบประสาท
เกิดความไม่สมดุล การกระตุ้น และการปล่อยสารสื่อประสาทบริเวณซินแนป
วงจรการนอนหลับเปลี่ยนแปลง
ความเจ็บปวด
รบกวนการนอนหลับ นเป็นได้ทั้งการเจ็บปวดชนิดเฉียบพลันและเรื้อรัง
ความไม่สุขสบาย และการถ่ายปัสสาวะ
การขับถ่ายปัสสาวะ
การกลั้นปัสสาวะลดลง
ส่งผลต่อการนอนหลับ ปัสสาวะบ่อยกลางคืน
การหายใจลำบาก
เกิดเนื่องจากกล้ามเนือ pharynx คลายตัวทางเดินหายใจมีแรงต้านมากขึ้น
การนอนหลับในระยะ REM ความอิ่มตัวของออกซเจนในกระแสเลือดลดลง
หลอดลมหดเกร็ง มีการคลั่งของเสมหะในหลอดลม แรงดันในปอดสูงขึ้น
อาการไอ
เกิดการยับยั้งการหายใจเข้า ไปกระตุ้นการหายใจจออก เมื่อความดันในปอดเพิ่มมากขึ้นจะดันฝาปิดกล่องเสียงเปิด
มีผลให้เกิดเสียงดังและนำเอาฝุ่นละอองหรือสิ่งแปลกปลอมออกจากทา
เดินหายใจ
การกระตุกของแขนขาขณะนอนหลับ
พบในการนอนหลับในระยะที่ 1 และ 2 NREM
เกิดร่วมกับการหยุดหายใจขณะนอนหลับ มีภาวะไตวายเรื้อรัง หรือการใช้ยาต้านอาการซึมเศร้า
ยา
ยาที่รบกวนการนอนหลับ ได้แก่ บาบิทูเรต โดยยาจะรบกวนการนอนหลับในระยะ REM ทำให้เกิดอาการฝันร้าย เกิดภาพหลอน
ยาคอร์ติโคเสตียรอยด์
ยาขับปัสสาวะ ทำให้ปัสสาวะบ่อย
ยาขยายหลอดลม ทำให้นอนหลับยาก
ยาต้านการซึมเศร้า มีผลต่อการนอนกลับในระยะ REM
คาเฟอีน
อยู่ภายในร่างกาย 3-5 ชั่วโมง
ลดระยะการนอนหลับในแต่ละคืน
บุหรี่
สารนิโคติน เป็นสารกระตุ้นการทำงานของระบบประสาทซิมพาเธติกทำให้มีการหลั่งแคทีโคลามีนเพิ่มขึ้น
การเต้นของหัวใจและความดันโลหิตเพิ่มขึ้น
แอลกอฮอล์
รบกสวนการนอนหลับในระยะ REM
ด้านจิตใจและอารมณ์
ความวิตกกังวล
อารมณ์เศร้า
ความเครียด
ด้านสิ่งแวดล้อม
เสียง
นอนหลลับได้ดีระดับความดัง 45 เดซิเบล
อุณหภูมิ
23.9-27 องศาเซลเซียส
แสง
อื่นๆ
กลิ่น
เพื่อนร่วมห้อง
แมลงและสัตว์ต่างๆ
ปัญหาการนอนไม่หลับ
การพยาบาลการนอนหลับไม่เพียงพอ
ให้ข้อมญูลเกี่ยวกับเปลี่ยนแปลงลักษณะการนอนหลับ
ปัสสาวะก่อนเข้านอน
แนะนำและดูแลให้เข้านอนตื่นตรงเวลา
กำจัดสาเหตุที่รบกวนการนอนหลับ
งดดื่มเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีนและแอลกอฮอล์
แนะนำเทคนิคผ่อนคลาย
การอนอนนับลมหายใจ
งดการออกำลังกายก่อนนอน 3 ชั่วโมง
การอ่านหนังสือ
ฟังเพลงที่ผ่อนคลาย
การสวดมนต์
การทำสมาธิก่อนอน
ฟังเพลงที่ผ่อนคลาย
การนวดหลังเบาๆ
ลดการงีบเวลากลางวัน
ทำกิจกรรมต่างๆหรือการออกกำลังกายเบาๆ
จัดสิ่งแวดล้อมให้ช่วยนอนหลับ
งดการใช้เสียง
การพยาบาลการนอนหลับมากกว่าปกติ
ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงลักษณะการนอนหลับที่ถูกต้อง เน้นเรื่องความเพียงพอในการนอนหลับ
แนะนำให้เข้านอนและตื่นนอนตรงเวลา
ลดช่วงการนอนหลับกลางวันเหลือเพียง 30 นาที
หลีกเลี่ยงการออกกำลังกายอย่างหนักในช่วงเลวลาใกล้นอน
จัดสิ่งแวดล้อมเพื่อป้องกันอุบัติเหตุ