Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบคอมพิวเตอร์, ระบบปฏิบัติการแบบทำงานโต้ตอบ หมาย
ถึง ระบบปฏิบัติการที่ม…
-
ระบบปฏิบัติการแบบทำงานโต้ตอบ หมาย
ถึง ระบบปฏิบัติการที่มีการโต้ตอบทันทีเมื่อ
มีการร้องขอจากผู้ใช้ โดยโปรแกรมจะทำ
การตอบสนองทันที ตัวอย่างเช่น เมื่อผู้ใช้
ทำการป้อนข้อมูลผ่านคีย์บอร์ดไปยัง
โปรแกรมประมวลผลคำ (Word
processing) โปรแกรมจะแสดงผลผ่านทาง
หน้าจอทันที โปรแกรมสำหรับตู้ ATM
โดยผู้ที่ต้องการถอนเงินจากตู้ ATM ผู้ใช้
สามารถเลือกเมนูสำหรับการถอนเงินผ่าน
ตู้ ATM และได้รับเงินจากตู้ ATM ทันที
โดยที่ไม่จำเป็นจะต้องรอ เมื่อต้องการดู
จำนวนของเงิน ผู้ใช้สามารถเลือกเมนูเพื่อ
แสดงจำนวนเงินได้ทันที
หน้าที่ของระบบปฏิบัติการแบบกลุ่ม จะทำการอ่านข้อมูลโดยผ่านเครื่อง
อ่านการ์ด ซึ่งแต่ละการ์ดควบคุม (control card) จะทำการควบคุมการ
ประมวลผลงานไปจนกระทั่งงานสำเร็จ และพิมพ์งาน (print) ออกมา
ดังนั้นจะเห็นว่า ระบบปฏิบัติการแบบกลุ่มจะไม่มีการปฏิสัมพันธ์
(interaction) ระหว่างผู้ใช้และงาน (job) ในขณะที่โปรแกรมทำการโปร
เซสโดยหน่วยประมวลผลหลัก โดยความล่าช้า (delay) ระหว่างช่วงที่มี
การเปลี่ยนงานจนถึงงานเสร็จ จะเรียกว่า turnaround time
ระบบปฏิบัติการจะเก็บงานซึ่งประกอบด้วย 4 งานคือ job1, job2, job3 และ
job4 ไว้ในหน่วยความจำ ซึ่งมีขนาด 512 k
-
-
ระบบหลายโปรเซสเซอร์ หมายถึง ระบบคอมพิวเตอร์ที่มีซีพียูหลายตัว
ช่วยกันทำงาน สามารถแบ่งได้ 4 ประเภท คือ
1) SISD (Single Instruction stream, Single Data stream)
2) SIMD (Single Instruction stream, Multiple Data streams)
3) MISD (Multiple Instruction streams, Single Data stream)
4) MIMD (Multiple Instruction streams, Multiple Data streams)
-
ระดับชั้นการทำงานของโปรแกรมต่างๆ ในแง่ผู้ใช้เราอาจแบ่งได้ออก
เป็น 4 ระดับ
1) ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ (User)
2) ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
3) ซอฟต์แวร์ระบบ (Operating System)
4) ฮาร์ดแวร์ของเครื่องคอมพิวเตอร์ (Hardware)
1) Hard real-time system เป็นระบบที่ถูกรับรองได้ว่า จะทำการตอบสนอง
ตรงเวลา ไม่มีฮาร์ดดิสก์ (Hard disk) หรือมีขนาดเล็ก โดยการเก็บข้อมูลจะ
เก็บในหน่วยความจำระยะสั่น (short-term memory) หรือ ROM ข้อเสียคือ ไม่
สนับสนุนระบบการแบ่งส่วนเวลา (time-sharing) และระบบนี้ได้ไม่มีการ
สนับสนุนจากระบบปฏิบัติการทั่วไป ตัวอย่างเช่น ระบบควบคุมการลงจอด
ของเครื่องบิน ควบคุมการเบรกของรถยนต์ เครื่องช่วยหายใจ ระบบจะต้อง
ควบคุมการทำงานให้ตรงเวลา เพราะถ้าเกิดข้อผิดพลาดจะเกิดความเสียหาย
2) Soft real-time system เป็นระบบที่สนับสนุนในส่วนของการแบ่งส่วน
เวลาคือ รอให้งานอื่นสามารถทำให้เสร็จก่อนได้ ตัวอย่างเช่น การควบคุม
เสียงในโรงงานอุตสาหกรรมควบคุม ระบบควบคุมการจองตั๋วเครื่องบิน
คือระบบ multiprocessor ที่มี CPU มากกว่า 1 ตัว ในการติดต่อสื่อสาร และเป็น Tightly coupled system คือ processor มีการ share memory และ clock การติดต่อสื่อสารจะผ่านทาง share memory
ข้อดีของ Parallel System คือ
เพิ่ม throughput แต่ไม่ใช่ว่าเราเพิ่มจำนวน processor ไป n ตัว แล้วจะทำให้อัตรเร็วที่เพิ่มขึ้นเป็น n เท่าไปด้วย ตัวอย่างเช่น ถ้าเราโปรแกรมเมอร์ n คน ไม่จำเป็นว่าจะได้ผลลัพธ์เป็น n เท่าของงานที่จะเสร็จ
ประหยัด เพราะสามารถ share ทรัพยากรกันได้
เพิ่มความน่าเชื่อถือ เช่น ถ้าเรามี 10 processor แล้วเสียไป 1 ที่เหลือก็ยังคงทำงานได้ แต่อาจช้าลงหน่อย สิ่งนี้เป็นการช่วยระดับของความอยูรอดของฮาร์ดแวร์ซึ่งถูกเรียกว่า graceful degradating (การแตกตัวอย่างสวยงาม) ระบบที่ออกแบบมาสำหรับ graceful degradation เรียกว่า fault-tolerant (ความทนทานต่อความผิดพลาด)
เป็นการแจกจ่ายงานให้กับ processors ที่มีอยู่ เราเรียก Distributed Systems อีกชื่อว่า Loosely coupled system คือ processor แต่ละตัวจะมีหน่วยความจำเป็นของตัวเอง การสื่อสารระหว่าง processor ก็ทำได้หลายวิธี เช่น ผ่านทาง high-speed buses หรือสายโทรศัพท์
ข้อดีของ distributed system คือ
Resource Sharing เป็นการลดค่าใช้จ่ายในการซื้อเครื่องมือ เช่น share กันใช้ printer ร่วมกัน
Computation Speedup (การทำงานทำได้เร็วขึ้น) หรืออีกชื่อคือ load sharing ถ้า site ที่เราทำงานอยู่มีงานที่ overload อยู่ ก็จะมีการส่งงานบางส่วนไปยัง site อื่น ที่ไม่ค่อยมีงานหนัก การย้ายงานแบบนี้เราเรียก load sharing
Reliability (ความน่าเชื่อถือ) ถ้าเครื่อง A เสีย เราสามารถโอนข้อมูลไปเครื่อง B เพื่อทำงานต่อโดยไม่ต้องรอได้
Communication ในการแลกเปลี่ยนข้อมูล ไม่ว่าการ share หรือ transfer ข้อมูล เราก็ทำได้โดยใช้ Electronic mail