Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่2 การประเมินภาวะสุขภาพ - Coggle Diagram
บทที่2 การประเมินภาวะสุขภาพ
การเก็บรวบรวมข้อมูล
แหล่งข้อมูล
(1)ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary source data)
การสังเกต การซักประวัติ ข้อมูลที่เชื่อถือได้มากที่สุดการสังเกตการสัมภาษณ์หรือการซักประวัติสุขภาพจากผู้รับบริการโดยตรงข้อมูลจากการตรวจร่างกาย
(2)ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary source data)
ข้อมูลจากบุคคลในครอบครัวญาติผู้ใกล้ชิดเป็นข้อมูลที่พยาบาล
เก็บรวบรวมได้จากแหล่งอื่น ๆ นอกเหนือจากผู้รับบริการ•ข้อมูลจากบุคคลในครอบครัวญาติผู้ใกล้ชิด
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
การสังเกต
ลักษณะทั่วไปของผู้รับบริการ เช่น ความรู้สึกตัว
รูปร่าง ลักษณะอ้วน ผอม สูง เตี้ยสีหน้า น้ าเสียง และการพูดคุย การแสดงสีหน้าระดับเสียง และลักษณะการพูดคุยต่างๆ
การสัมภาษณ์หรือซักประวัติ
เป็นการสนทนาพูดคุยกับผู้รับบริการญาติหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ได้ข้อมูลเพิ่มเติมจากการสังเกตควรแต่งกายสะอาดเรียบร้อยมีบุคลิกที่ดีน่าเชื่อถือ
การตรวจร่างกาย
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการตรวจร่างกาย เป็นการประเมินเกี่ยวกับ
โครงสร้างหน้าที่และสิ่งตรวจพบในระบบต่างๆของร่างกาย
ชนิดของข้อมูล
ข้อมูลอัตนัย (Subjective data)
ที่ได้จากการซักประวัติการสัมภาษณ์และการบอกเล่าของผู้รับบริการหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องเช่น สามีภรรยา พ่อแม่
ผู้ปกครอง ลูก ผู้ดูแล ญาติของผู้ป่วย
ข้อมูลปรนัย (Objective data)
อาการแสดง จากการสังเกต การตรวจร่างกายการตรวจวัดผู้รับบริการด้วยเครื่องมือต่างๆ เช่น
การวัดอุณหภูมิร่างกายการจับชีพจร
การตรวจร่างกาย
เทคนิคการครวจร่างกาย
เครื่องมือในการตรวจร่างกาย
11 แบบแผน กอร์ดอน
9.เพศและการเจริญพันธุ์
พฤติกรรมทางเพศที่เบี่ยงเบนไปจากปกติ อิทธิพลทางสังคม การเลี้ยงดูและสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมทางเพศ
10.การปรับตัวและการเผกับความเครียดชิญ
เพศหญิง (ประวัติการมีประจำเดือน)เพศชาย (ปัญหาเกี่ยวกับอวัยวะสืบพันธ์)
8.บทบาทและสัมพันธภาพ
บทบาทและสัมพันธภาพของผู้ป่วยต่อบุคคล อื่น ทั้งภายในและภายนอก
7.การรู้จักตนเองและอัตมโนทัศน์
ความคิด ความรู้สึก ความเข้าใจของผู้รับบริการที่มีต่อ ตนเอง เช่น คุณค่า ความภาคภูมิใจ ความมั่นใจในตนเอง ภาพลักษณ์
11.ความเชื่อ
ภาวะความมั่นคงเข้มแข็งทางจิตใจการงดเว้นของแสลงเพราะเชื่อว่าจะท าให้อาการกำเริบมากขึ้น
6.สติปัญญาและการรับรู้
ความสามารถในการรับรู้และตอบสนองต่อสิ่งเร้าทั้ง เรื่องการได้ยิน การ
มองเห็นการได้กลิ่น การรับรส และการรับ ความรู้สึกทางผิวหนัง
5.การพักผ่อนนอนหลับ
อุปสรรคที่ส่งผลต่อการนอนความรู้สึกและผลกระทบที่เกิดขึ้นเมื่อไม่สามารถนอน
4.กิจวัตรระจำวันและการออกกำลังกาย
ประเมินระดับความสามารถในการประกอบกิจกรรมต่างๆในชีวิตประจำวัเช่น
การทำกิจวัตรประจำวัน
3.การขับถ่าย
ปัญหาการขับถ่ายปัสสาวะและการแก้ไขปัจจัยส่งเสริมและปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อแบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะ
2.โภชนาการและการเผาผลาญสารอาหาร
พฤติกรรมและการปรับตัวในเรื่องการกินของผู้ป่วยทั้งในภาวะ ปกติแลขณะ
เจ็บป่วย เช่น ปรับเวลา
1.การรับรู้และการดูแลสุขภาพ
เป็นการรวบรวมข้อมูลเพื่อประเมินความคิดความเข้าใจของผู้รับบริการที่
มีต่อภาวะสุขภาพหรือการเจ็บป่วยของตนเอง
การซักประวัติสุขภาพ
ประวัติเจ็บป่วยปัจจุบัน PI
ประวัติเจ็บป่วยปัจจุบัน เป็นอาการที่ขยาย
รายละเอียดจากอาการส าคัญ
ประวัติเจ็บป่วยในอดีต P.H.
ประวัติการผ่าตัดประวัติการแพ้ยา อาหาร หรือสารเคมี
อากการสำคัญ C.C.
เป็นอาการหลักหรือเป็นอาการที่เป็นปัญหาหรือสาเหตุที่ทำให้ผู้ป่วยหรือญาติต้องพาผู้ป่วยมารับการรักษารวมถึงระยะเวลาตั้งแต่เริ่มมีอาการสำคัญจนถึง
ประวัติเจ็บป่วยในครอบครัว F.H.
ประวัติเจ็บป่วยในครอบครัว เป็นประวัติเจ็บป่วยของบุคคลภายในครอบครัวเดียวกันกับผู้รับบริการสิ่งที่ควรซักประวัติเจ็บป่วยในครอบครัว
ข้อมูลส่วนบุคคล
การซักประวัติตามกรอบแนวคิดที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
ขอควรพึงละลึก
การเก็บรวบรวมข้อมูล
ควรเป็นข้อมูลที่ครอบคลุม ด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์สังคมและจิตวิญญาณของผู็รับบริการ
การเก็บรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล
เชื่อถือได้และปราศจากอคติหรือการใช้ความคิดเห็น