Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการพยาบาล NURSING PROCESS - Coggle Diagram
กระบวนการพยาบาล NURSING PROCESS
1.1 ความหมายของกระบวนการพยาบาล
กระบวนการพยาบาล เป็นการแก้ปัญหาตามหลักวิทยาศาสตร์ที่มี ระบบ เป็นขั้นตอนและ มีความต่อเนื่อง ทำให้การนำความรู้ทาง ทฤษฎีไปสู่การปฏิบัติการพยาบาลมีประสิทธิภาพ
สรุป กระบวนการที่พยาบาลใช้เป็นเครื่องมือในการดูแลผู้รับบริการ ครอบครัวและ ชุมชนโดยมีขั้นตอนตามหลักวิทยาศาสตร์ แสดงให้เห็นความเป็นวิชาชีพภายใต้ความเชื่อ ความรู้จากศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งประกอบด้วย การประเมนิภาวะสขุภาพ การวินิจฉยั การพยาบาล การวางแผนการพยาบาล การปฏิบัติการพยาบาลและการประเมนิผล ลัพธท์างการพยาบาล
1.2 ขั้นตอนของกระบวนการพยาบาล
การประเมนิภาวะสขุภาพ (Health Assessment)
รวบรวมข้อมูล
วิเคราะห์ข้อมูล
การวนิจิฉยัทางการพยาบาล (Nursing Diagnosis)
การกำหนดข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
การกำหนดข้อมูลสนับสนุน
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา
การกำหนดเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ของการพยาบาล
การกำหนดเกณฑ์ประเมินผลการพยาบาล
การกำหนดกิจกรรมการพยาบาล
การปฏบิตัิการพยาบาล (Implementation)
การปฏิบัติการพยาบาลตามแผนการพยาบาล
การบันทึกการพยาบาล
การประเมนิผล การพยาบาล (Evaluation)
การประเมินผลลัพธ์ทางการพยาบาล
กระบวนการพยาบาล มีลักษณะเป็นวงจร ไม่หยุดนิ่ง มี ความต่อเนื่องตลอดเวลา และมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและ กัน กล่าวคือ การประเมินผลการพยาบาล ซึ่งเป็น ขั้นตอน สุดท้ายของกระบวนการพยาบาลจะมีผลสะท้อน กลับไปสู่ขั้นตอนอื่นๆ ทุกขั้นตอน โดยถ้าผลการประเมิน ไม่บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ต้องมีการรวบรวมวิเคราะห์ ข้อมูลใหม่
1.3 ความสำคัญของกระบวนการพยาบาล
กระบวนการพยาบาลช่วยให้การปฏิบัติพยาบาลมีคุณภาพมาตรฐาน
พยาบาลทราบถึงเป้าหมายของการพยาบาลชัดเจน
ดูแลผู้ป่วยได้ครอบคลุมและต่อเนื่อง
กระบวนการพยาบาลส่งเสริมให้พยาบาลมีทักษะในการคิดอย่าง
มีวิจารณญาณ
ให้ผู้รับบริการได้รับการดูแลอย่างมีคุณภาพ
กระบวนการพยาบาลช่วยในการสื่อสารของทีมการพยาบาลให้มีประสิทธิภาพ
มีความเข้าใจตรงกัน ลดความซับซ้อน
กระบวนการพยาบาลช่วยให้การมอบหมายงานได้เหมาะสมกับสถานการณ์
แนวทางในการมอบหมายงาน
กระบวนการพยาบาลแสดงถึงเอกลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล
ทำให้พยาบาลวิชาชีพมี ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของตนเอง
กระบวนการพยาบาลส่งเสริมให้มีการพัฒนาวิชาชีพ
ให้พยาบาลมีการทำวิจัย
เกิดความก้าวหน้าทางวิชาชีพ
1.4 ปัญหาการใชก้ระบวนการพยาบาลและแนวทางแก้ไข
สำหรับพยาบาลวิชาชีพ
มีการใช้กระบวนการพยาบาลในการปฏิบัติงานอยู่ในระดับปานกลาง
การใช้กระบวนการพยาบาลยังไม่ครบทุกขั้นตอน แต่ละขั้นตอนยังทำไม่ครบถ้วน
ปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อการนำกระบวนการ พยาบาลไปใช้ในการปฏิบัติงาน ได้แก่ การ ขาดความรู้และทักษะในการใช้กระบวนการ พยาบาล
การนิเทศ
ขณะที่นำกระบวนการพยาบาลไปใช้ ในการปฏิบัติงานไม่ชัดเจนและไม่
ต่อเนื่อง ขาดการนิเทศ ที่เป็นระบบ ไม่มีระบบที่ปรึกษา เพื่อให้การ
ช่วยเหลือ
สิ่งอำนวยความสะดวกมีไม่เพียงพอ
แบบฟอร์มบันทึกการพยาบาลมีการบันทึก ซ้ำซ้อนกัน ไม่มีรูปแบบการบันทึกทางการ พยาบาลที่ใช้ได้ง่าย สะดวก รวดเร็ว ขาดคู่มือ การเขียนข้อวินิจฉัย การพยาบาล
แนวทางแก้ไข
ฝ่ายการศึกษา
ควรจดัการเรยีนการสอน
ผู้สอน
ควรมีการพัฒนาอาจารย์
ฝ่ายบริการพยาบาล
ควรกำหนดนโยบายการใช้กระบวนการพยาบาลในการปฏิบัติพยาบาลให้ชัดเจนมีระบบ
ควรจัดจำนวนบคุลากรให้มีสัดส่วนพอเหมาะกับจำนวนผู้ป่วย
ควรมีการจัดอบรมให้ความรู้
ควรจัดให้มีเอกสารตำรา
ควรส่งเสิรมการทำวิจัย
1.5 กรอบแนวคิดที่ใช้ในกระบวนการพยาบาล
1.5.1 กรอบแนวคิดของแนนดา (NANDA)
กิจกรรม/การพักผ่อน (Activity/Rest)
การไหลเวียนโลหิต (Circulation)
ความสมบรูณ์ของจิตใจ อารมณ ์(Ego integrity)
การขับถ่าย (Elimination)
อาหารและน้ำ (Food & Fluid)
สุขอนามัยส่วนบุคคล (Hygiene)
การรับรู้และประสาทส้มผ้ส (Neurosensory)
ความเจ็บปวด (Pain/ Discomfort)
การหายใจ (Respiration)
ความปลอดภ้ย (Safety)
อนามัยทางเพศและการเจริญพันธ ุ์(Sexuality)
ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม (Social interaction)
การเรียนรู้ (Teaching/Learning)
1.5.2 กรอบแนวคดิแบบแผนสขุภาพของกอร์ดอน (Gordon)
แบบแผนที่ 1 การรับรู้ภาวะสุขภาพและการดูแลสุขภาพ (Health perception and Health management)
แบบแผนที่ 2 โภชนาการและการเผาผลาญสารอาหาร (Nutrition and Metabolism)
แบบแผนที่ 3 การขับถ่าย (Elimination)
แบบแผนที่ 4 กิจกรรมและการออกกำลังกาย (Activity and Exercise) แบบแผนที่ 5 การพักผ่อนนอนหลับ (Sleep and Rest)
แบบแผนที่ 6 สติปัญญาและการรับรู้ (Cognition and perception) แบบแผนที่ 7 การรับรู้ตนเองและอัตมโนทัศน์ (Self perception and Self concept)
แบบแผนที่ 8 บทบาทและสัมพันธภาพ (Role and Relationship) แบบแผนที่ 9 เพศและการเจริญพันธุ์ (Sexuality and Reproduction) แบบแผนที่ 10การปรับตัวและการทนทานต่อความเครียด(Coping and Stress tolerance)
แบบแผน 11 คุณค่าและความเชื่อ (Value and Belief)
1.5.3 กรอบแนวคิดระบบการจำแนกการปฏิบัติการพยาบาลระดับสากล
(International Classification for Nursing Practice, ICNP)
มีการจัดกลุ่มปรากฏการณ์ทางการพยาบาล (Nursing phenomena)
1.จุดเน้นการปฎิบัติการพยาบาล
2.การตัดสิน
3.ความบ่อย
4.ระยะเวลา
5.อวัยวะของร่างกาย
6.อาณาบริเวณ
7.โอกาสเกิด
8.การกระจาย
การจำแนกกิจกรรมทางการพยาบาล (Nursing actions)
ชนิดของกิจกรรมการพยาบาล
เป้าหมายของการพยาบาล
เครื่องมือในการปฎิบัติการพยาบาล
เวลาที่ใช้การพยาบาล
สถานที่ที่ให้การพยาบาล
บริเวณหรือตำแหน่งของร่างกายที่กระทำการพยาบาล
วิธีการที่ให้การพยาบาล
การจำแนกผลลัพธ์ทางการพยาบาล (Nursing outcomes)
เป็นการประเมินหรือวัดผลลัพธ์ ณ เวลาใดเวลาหนึ่งหลัง จากการให้การบำบัด