Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 บทนำกระบวนการพยาบาล NURSING PROCESS - Coggle Diagram
บทที่ 1
บทนำกระบวนการพยาบาล
NURSING PROCESS
ความหมายของกระบวนการพยาบาล
กระบวนการพยาบาล คือกระบวนการแก้ปัญหาที่น ามาใช้ให้เฉพาะเจาะจงส าหรับศาสตร์ สาขาพยาบาล ประยุกต์ใช้ได้ในทุกสถานการณ์ของพยาบาล เป็นกระบวนการทางสติปัญญา (Cognitive process) ที่ให้วิธีคิดและแนวทางในการปฏิบัติการพยาบาลอย่างมีระบบ
กระบวนการที่พยาบาลใช้เป็นเครื่องมือในการดูแลผู้รับบริการ ครอบครัวและชุมชนโดยมีขั้นตอนตามหลักวิทยาศาสตร
ซึ่งงประกอบด้วย การประเมินภาวะสุขภาพ การวินิจฉัยการพยาบาล การวางแผนการพยาบาล การปฏิบัติการพยาบาลและการประเมินผลลัพธ์ทางการพยาบาล
ขั้นตอนของกระบวนการพยาบาล
กระบวนการพยาบาล ประกอบด้วยขั้นตอนต่างๆ ที่เป็นวงจร ต่อเนื่อง และมีความสัมพันธ์กัน 5 ขั้นตอน โดยใช้ตัวย่อ ADPIE
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health Assessment) :A
1.1 การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
1.2 การวิเคราะห์ข้อมูล (Analysis of Data)
2.การวินิจฉัยการพยาบาล(Nursing
Diagnosis) :D
2.1 การก าหนดข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล(Defined Nursing Diagnosis)
2.2 การก าหนดข้อมูลสนับสนุน (Defined data support)
3.การวางแผนการพยาบาล (Planning) :P
3.1 การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา(Priority)
3.2 การกำหนดเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ของการพยาบาล (Goal/Objective)
3.3 การกำหนดเกณฑ์การประเมินผลการพยาบาลหรือผลลัพธ์ที่คาดหมาย (Desired/ Expected Out come)
3.4 การกำหนดกิจกรรมการพยาบาล (Nursing activity)
4.การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation) :I
4.1 การปฏิบัติการพยาบาลตามแผนการพยาบาล
4.2 การบันทึกทางการพยาบาล (Nursingdocumentation)
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation) :E
ความสำคัญของกระบวนการพยาบาล
กระบวนการพยาบาลส่งเสริมให้พยาบาลมีทักษะในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
กระบวนการพยาบาลช่วยในการสื่อสารของทีมการพยาบาลให้มีประสิทธิภาพ
กระบวนการพยาบาลช่วยให้การปฏิบัติพยาบาลมีคุณภาพมาตรฐาน
กระบวนการพยาบาลช่วยให้การมอบหมายงานได้เหมาะสมกับสถานการณ์
กระบวนการพยาบาลเป็นหัวใจของการปฏิบัติการวิชาชีพพยาบาล
กระบวนการพยาบาลแสดงถึงเอกลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล
กระบวนการพยาบาลส่งเสริมให้มีการพัฒนาวิชาชีพ
กรอบแนวคิดที่ใช้ในกระบวนการพยาบาล
3.กรอบแนวคิดแบบแผนสุขภาพของกอร์ดอน (Gordon)
4.กรอบแนวคิดระบบการจำแนกการปฏิบัติการพยาบาลระดับสากล(ICNP)
2.กรอบแนวคิดของแนนดา (NANDA)
5.กรอบแนวคิดทฤษฎีการพยาบาลต่างๆ เช่น ทฤษฎี การพยาบาลของรอย(Roy) ทฤษฎีการพยาบาลของโอเร็ม (Orem) เป็นต้น
1.กรอบแนวคิดความต้องการพื้นฐานของมาสโลว์(Maslow)
แนวคิดกระบวนการพยาบาล
ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน
4.การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
1.การประเมินภาวะสุขภาพ (Health
Assessment)
2.การวินิจฉัยการพยาบาล(Nursing
Diagnosis)
3.การวางแผนการพยาบาล (Planning)
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
กระบวนการพยาบาล เป็นเครื่องมือที่สำคัญในการปฏิบัติการพยาบาลที่ช่วยให้ผู้รับบริการ ได้รับอย่างมีประสิทธิภาพ
แนวทางการแก้ไขการใช้กระบวนการพยาบาล
ฝ่ายการศึกษา
ผู้สอน ควรปลูกฝังทัศนคติที่ดีต่อการเรียนกระบวนการพยาบาลให้แก่นักศึกษาพยาบาล เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจในการปฏิบัติงานทางคลินิค
ควรมีการพัฒนาอาจารย์
• ให้มีความเข้าใจในแต่ละขั้นตอนของกระบวนการพยาบาล
• การใช้ภาษาในการเขียนข้อวินิจฉัยการพยาบาลควรมีความยืดหยุ่น
ควรจัดการเรียนการสอนทั้งรายวิชาภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติทุกรายวิชาเน้นให้นักศึกษาคิดวิเคราะห์ และฝึกประสบการณ์ในการวินิจฉัยการพยาบาลมากขึ้น
ฝ่ายบริการพยาบาล
ควรมีการจัดอบรมให้ความรู้
ควรจัดจำนวนบุคลากรให้มีสัดส่วนพอเหมาะกับจำนวนผู้ป่วย
1.ควรกำหนดนโยบายการใช้กระบวนการพยาบาลในการปฏิบัติพยาบาลให้ชัดเจนมีระบบ
ควรจัดให้มีเอกสาร ตำรา เกี่ยวกับการการวินิจฉัยการพยาบาลและโรคต่างๆ
ควรส่งเสริมการทำวิจัย เพื่อพัฒนาการใช้กระบวนการพยาบาลให้มีคุณภาพมากขึ้น
ปัญหาการใช้กระบวนการพยาบาล
ปัญหาที่เกิดขึ้นกับนักศึกษาพยาบาล
1.นักศึกษาขาดความรู้ความเข้าใจและทักษะการใช้กระบวนการพยาบาลในการปฏิบัติงาน
3.ใช้เวลานานมากในการเขียนแผนการพยาบาลจึงทำให้ไม่อยากเขียน
5.นักศึกษายังมีทัศนคติในเชิงลบต่อการใช้กระบวนการพยาบาล
2.ภาษาที่ใช้ในการเขียนข้อวินิจฉัยการพยาบาล
เข้าใจยาก
4.การเขียนข้อวินิจฉัยการพยาบาลเป็นสิ่งทียุ่งยาก ทำความเข้าใจลำบาก
ปัญหาที่เกิดขึ้นกับพยาบาลวิชาชีพ
3.พยาบาลวิชาชีพมีภาระงานมากไม่สมดุลกับอัตรากำลังที่มี
2.ขาดความรู้และทักษะในการใช้กระบวนการกระบวนการพยาบาล
1.การใช้กระบวนการพยาบาลยังไม่ครบทุกขั้นตอน
4.ขาดการนิเทศ ที่เป็นระบบเพื่อให้การช่วยเหลือและให้คำแนะนำการใช้กระบวนการพยาบาลที่มีประสิทธิภาพ
5.การขาดความตระหนักถึงความสำคัญ และคุณค่าของการใช้กระบวนการพยาบาลในการปฏิบัติงาน
การใช้กระบบวนการพยาบาลให้เกิดประสิทธิภาพ
2.การประเมินผลตนเอง โดยการสอบถามว่าทำถูกต้องตามหลักการเขียนแล้วหรือไม่
3.มีการประเมินปัญหา อุปสรรคและปรับปรุงการใช้กระบวนการอย่างสม่ำเสมอ
1.ไม่อคติ ไม่ต่อต้าน ไม่คิดว่าเป็นเรื่องที่ยาก
สิ่งสำคัญคือ การมีความตระหนักถึง
ความสำคัญของกระบวนการพยาบาลและการีทัศนคติที่ดีต่อการใช้กระบวนการพยาบาล