Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการบริหารทางการพยาบาล นางสาวกาญจนาพร แสนทวีสุข รหัส 60170005 -…
กระบวนการบริหารทางการพยาบาล
นางสาวกาญจนาพร แสนทวีสุข
รหัส 60170005
6) R: Reporting
การรายงานผลงาน
เป็นกระบวนการและเทคนิคของการแจ้งให้ผู้บังคับบัญชาตามชั้นได้ทราบถึงผลการปฏิบัติงาน โดยที่มีความสัมพันธ์กับการติดต่อสื่อสาร (Communication) ในองค์การอยู่ด้วย
ลักษณะสำคัญ 2 ลักษณะ
รายงานขณะปฏิบัติงาน
การรายงานเมื่อสิ้นสุดแผนงาน
สิ่งที่จำเป็นควรเน้นพิเศษในการรายงาน
1.รายงานเป็นกระบวนการ
INPUT PROCESS OUTPUT
รายงานการใช้ทรัพยากร อะไรไปบ้าง
มีปัญหาอุปสรรคอย่างไร
รายงานเกี่ยวกับผลที่เกิดขึ้น
รายงานเกี่ยวกับผลกระทบที่เกิดขึ้น
Feed Back เป็นการรายงานในภาพรวม
7) B: Budgeting
การทำงบประมาณ
เป็นภารกิจที่เกี่ยวกับการวางแผนการทำบัญชีการควบคุมเกี่ยวกับการเงินและการคลัง
-ต้นทุน Cost
-งบประมาณ Budget
ลักษณะงบประมาณแบ่งเป็น 2 ภาค
งบประมาณภาคราชการ Bureaucratic Budgeting
งบประมาณของภาคเอกชน Private Budgeting
4) D: Directing
การอำนวยการ
เป็นภาระกิจในการใช้ศิลปะในการบริหารงาน เช่น ภาวะผู้นำ (Leadership) มนุษยสัมพันธ์ (Human Relations) การจูงใจ (Motivation) และการตัดสินใจ (Decision making) เป็นต้น
กิจกรรมอำนวยการที่สำคัญ
1.การประสานงาน Coordinating
2.การตัดสินใจและสั่งการ Decision Making
3.การสั่งงาน Order
4.การติดตามดูแลกำกับ และให้คำปรึกษา
Supervising & Guiding
5.การสร้างขวัญกำลังใจ และแรงจูงใจ
Moral and Motivating
6.การใช้ภาวะผู้นำ Leadership
7.การสร้างมนุษย์สัมพันธ์ Human Relation
8.การจัดระบบสื่อสารและการสร้างเครือข่าย
Net Work and Communicating
9.การมอบหมายงานและการมอบอำนาจหน้าที่
Take Oder & Delegating
10.การส่งเสริมกิจกรรมอื่น ๆ Supporting
5) Co: Coordinating
การประสานงาน
เป็นการประสานให้ส่วนต่าง ๆ ของกระบวนการทำงานมีความต่อเนื่องกัน เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย และราบรื่น
วัตถุประสงค์
ลดความขัดแย้ง ระหว่างผู้ปฏิบัติกับองค์กร
ช่วยให้เกิดความร่วมมือในการปฏิบัติงาน
เกิดประสิทธิภาพ ประหยัดแรงงาน เวลา และวัสดุอุปกรณ์
วิธีการประสานงานที่สำคัญ
การจัดทำแผนผัง กำหนดหน้าที่งานหน่วยงาน แผนภูมิ ป้ายทะเบียน เป็นต้น
จัดทำคำสั่ง กำหนดหน้าที่ชัดเจน
ตั้งคณะกรรมการ ตามแผนงาน
ทำแผนปฏิบัติงาน และแผนควบคุมการปฏิบัติงาน
การกำหนดส่งงาน
การระบุการจัดสรรงบประมาณ การจัดกิจกรรม การควบคุมกิจกรรม
การจัดประชุม สัมมนา การกระจายข่าว
2) O: Organizing
การจัดองค์กร
เป็นการกำหนดโครงสร้างขององค์การ โดยพิจารณาให้เหมาะสมกับงาน เช่น การแบ่งงาน (Division of Work) เป็นกรม กอง หรือแผนก โดยอาศัยปริมาณงาน คุณภาพงาน หรือจัดตามลักษณะเฉพาะของงาน (Specialization)
องค์ประกอบโครงสร้าง
องค์การ 5 ประการ
ลักษณะเฉพาะของงาน (Work specification)
สายการบังคับบัญชา (Chain of command)
ขอบเขตการควบคุม (Span of control)
การรวมศูนย์และการกระจายอํานาจ
(Centralization and decentralization)
ความเป็นทางการ (Formalization)
ขั้นตอนการจัดองค์การ
1) ระบุจุดมุ่งหมายขององค์กร
2) พิจารณากำหนดวัตถุประสงค์ที่ซึ่งจะมีผลกระทบต่อการกำหนดโครงสร้างองค์กร
3) พิจารณาจัดทำนโยบายหลักที่ซึ่งจะเป็นเครื่องมือนำทางสำหรับองค์กร
4) การพิจารณาหน้าที่งานต่าง ๆ ที่พึงต้องปฏิบัติเพื่อให้สำเร็จตามจุดมุ่งหมายที่ตั้งไว้
5) การจัดแผนกงานของหน้าที่งานต่าง ๆ โดยวิธีการแบ่งกลุ่มงานที่เหมือนกันและสัมพันธ์กันให้เข้าเป็นกลุ่ม ๆ เป็นหน่วยงานหน่วยต่าง ๆ
6) การจัดรูปแบบโครงสร้างองค์กรให้เป็นหลักฐานพร้อมเอกสารคู่มือ
7) พัฒนาระเบียบวิธีปฏิบัติที่จะใช้เพื่อการปฏิบัติงานตามหน้าที่งานขององค์กร
8) วิเคราะห์และกำหนดความชำนาญของพนักงานที่จำเป็น
ประเภทของโครงสร้างองค์การ
แบบหน่วยงานหลัก (Line Organization)
แบบหน้าที่เฉพาะ
(Functional Organization)
แบบเมตริกซ์ (Matrix Organization)
แบบคณะกรรมการ
(Committee Organization)
แบบหน่วยเฉพาะกิจ (Task Force)
1) P: Planning
การวางแผน
เป็นการวางเค้าโครงกิจกรรมซึ่งเป็นการเตรียมการก่อนลงมือปฏิบัติ เพื่อให้การดำเนินการสามารถบรรลุเป้าหมายที่วางไว้อย่างมีประสิทธิภาพ
ประโยชน์
3.ลดความซับซ้อน ประสานงานในฝ่ายต่างๆได้ดี
2.ใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า
1.ทำให้กิจกรรม/ภารกิจไปในทิศทางเดียวกัน
กระบวนการ
1.กำหนดวัตถุประสงค์
2.การรวบรวมข้อมูล
3.การวางแผน
4.การดำเนินงานตามแผน
5.การติดตามและปรับปรุง
ความสำคัญ
1.ใช้ทรัพยากรบริหารได้เหมาะสม
3.ช่วยให้ผูมีส่วนร่วมเข้าใจ/วัตถุประสงค์ของงาน
4.คาดการณ์ล่วงหน้าได้และเผชิญแก้ไขปัญหาได้ทัน
2.ปฎิบัติงานได้อย่างรวดเร็ว ลดความผิดพลาด
5.เป็นเครื่องมือพื้นฐานในการควบคุมการปฎิบัติงาน
6.ทำให้อำนวย/สั่งการ มอบหมาย การประสานงานเหมาะสม
ขั้นตอนการจัดการเชิงกลยุทธ์ 4 องค์ประกอบ
1) การวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์
(Strategic analysis)
2) การวางแผนกลยุทธ์
(Strategic planning)
3) การนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ
(Strategic implementation)
4) การควบคุมและประเมินผลกลยุทธ์
(Strategic control and evaluation)
ประเภทของการวางแผน
จำแนกตามระดับการจัดการ
1) การวางแผนกลยุทธ์
2) การวางแผนบริหาร
3) การวางแผนปฏิบัติการ
จำแนกตามเวลา
ระยะสั้น 1 ปี แผนประจำปี
ระยะกลาง 5-10 ปี แผนพัฒนาบุคลากร
ระยะยาว > 10 ปี ทิศทางองค์กร
3.จำแนกตามระดับโครงสร้างการบริหารประเทศ
1) แผนระดับชาติ
3) แผนระดับท้องถิ่น
2) แผนระดับภาค
4.จำแนกตามหน้าที่การงาน
1) การวางแผนด้านการผลิต
4) การวางแผนด้านการเงิน
2) การวางแผนด้านบุคลากร
3) การวางแผนด้านการตลาด
3) S: Staffing
คณะผู้ร่วมงาน
เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์การนั่นเอง ทั้งนี้เพื่อให้บุคลากรมาปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับการจัด แบ่งหน่วยงานที่กำหนดไว้
การวางแผนกำลังคน
การวิเคราะห์งาน
การกำหนดตำแหน่งและเงินเดือน ค่าจ้าง
การคัดเลือกบุคคลเข้าทำงาน
การมอบหมายหน้าที่รับผิดชอบ
การธำรงรักษาบุคลากร
การพัฒนาบุคลากร
การพ้นจากงาน
การให้ค่าตอบแทน เงินเดือน ยึดถือระบบคุณธรรม
หลักความสามารถ Competence
หลักความเสมอภาค Equality
หลักความมั่นคง Security
ความเป็นกลางทางการเมือง Political neutrality
หลักสำคัญในการให้เงินเดือน คือ งานมาก งานยาก รับผิดชอบสูงให้เงินเดือนสูง งานน้อย งานไม่ยาก รับผิดชอบน้อย เงินเดือนน้อย
ข้อดีข้อเสียของ POSDCoRB
ข้อดี
องค์กรมีโอการประสบผลสำเร็จบรรลุเป้าหมาย มีสายบังคับบัญชาเดียว
สมาชิกองค์กรมีความเข้าใจวัตถุประสงค์องค์กร และ แบ่งสายงานชัดเจน ไม่สับสน
ในหน่วยงานเดียวกัน มีความเข้มแข็ง เพราะเลือกสายอาชีพเดียวกันมาร่วมกันทำงาน
ใช้ทรัพยากรได้อย่างคุ้มค่า ถูกที่ถูกงาน
การประสานงานระหว่างหน่วยงานมีความสะดวก
จัดเตรียมงบประมาณสนับสนุนแต่ละส่วนได้อย่างเหมาะสม
ข้อเสีย
เมื่อมีสายงานบังคับบัญชาที่ชัดเจน บางหน่วยงานอาจเลี่ยงปฎิบัติงานจนกว่าผู้บริหารจะสั่งการลงมาโดยตรง
อุปกรณ์หรือเครื่องมือบางชนิดที่อยู่นอกเหนือหน่วยงานตนเอง อาจต้องรอจนกว่าหน่วยงานที่รับผิดชอบมาดำเนินงานให้
ทุกคนล้วนอยากอยู่ในหน่วยงานบริหารหลัก ทำงานใกล้ชิดผู้บริหาร อาจเกิดความขัดแย้ง