Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 แนวคิดและหลักการของการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ - Coggle…
บทที่ 1
แนวคิดและหลักการของการวิเคราะห์
และออกแบบระบบสารสนเทศ
หลักการวิเคราะห์และออกแบบระบบ
การวิเคราะห์ระบบ เป็นการศึกษา วิเคราะห์และแยกแยะถึงปัญหาที่เกิดขึ้นในระบบ
การออกแบบระบบ คือการสร้างแบบพิมพ์เขียวของระบบใหม่ตามความต้องการในเอกสารความต้องการระบบ กำหนดสิ่งที่จำเป็น เช่น ข้อมูล/อุปกรณ์นำเข้า (Input), ประมวลผล (Process), ผลลัพธ์ (Output) และส่วนต่อประสานผู้ใช้ (Graphic User Interface)
ขั้นตอนและกระบวนการของการวิเคราะห์และออกแบบระบบ
การทำการวิเคราะห์ระบบงานปัจจุบัน นั่นคือการนำเอาระบบงานปัจจุบันมาทำการวิเคราะห์ เพื่อค้นหาปัญหา กำหนดปัญหา และกำหนดวิธีการแก้ปัญหา
ขั้นพื้นฐาน (Basic System Analysis) มี 8 ขั้นตอน
การสอบถามความต้องการและรับทราบปัญหา (System Requirement)
การกำหนดบริบท (Context Description)
การออกแบบโครงสร้างบริบท (Context Diagram)
การเขียนผังกำหนดข้อมูลและการประมวลผล (Process Hierarchy Chart)
การเขียนผังการไหลของข้อมูล (Data Flow Diagram : DFD)
การอธิบายรายละเอียดของกระบวนการ (Process Description)
การกำหนดแบบจำลองข้อมูล (Data modeling)
1 more item...
ขั้นสูง (Advance System Analysis) มี 4 ขั้นตอน
การออกแบบฐานข้อมูล (Database Design)
กำหนดรายละเอียดคุณสมบัติ (Data Table Description)
การออกแบบส่วนแสดงผล (Output Design) มี 3 พฤติกรรมดังนี้
แสดงผลจากฐานข้อมูลโดยตรง (Data to Output)
แสดงผลจากการประมวลผลที่ได้รับจากการข้อมูลนำเข้า
(Data-Process to Output)
แสดงผลโดยตรงจากข้อมูลนำเข้า (Input to Output)
1 more item...
การค้นหาปัญหาของระบบเดิมที่ใช้อยู่
รายงานปัญหาที่มาจากปัจจัยภายนอก เช่น จากระดับผู้บริหาร จากระดับผู้ตรวจสอบ จากระดับลูกค้า จากระดับคู่แข่งขันทางธุรกิจ จากระดับตัวแทนจำหน่าย
รายงานปัญหาที่เกิดมาจากปัจจัยภายใน เช่น การประมวลผลทางคอมพิวเตอร์ ข้อมูลสถิติทางด้าน การเงิน จากผู้ใช้ งบประมาณ ผู้ตรวจสอบภายในบริษัท จากฝ่ายงานการวิเคราะห์ระบบ
การกำหนดวิธีการในการตรวจสอบระบบใหม่
เป้าหมาย (Goal)
เวลา (Time)
ต้นทุน (Cost)
คุณภาพ (Quality)
ความสามารถของระบบ (Capacity)
ประสิทธิภาพ (Efficiency)
ประสิทธิผล (Productivity)
1 more item...
การวางแผนงานเพื่อศึกษาปัญหา
การกำหนดหัวเรื่องของปัญหา (Subject)
กำหนดขอบเขตของปัญหา (Scope)
การกำหนดจุดประสงค์หรือเป้าหมายของการศึกษา (Objective)
การศึกษาผลกระทบของระบบงาน
แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม คือ
วัตถุประสงค์ของระบบคืออะไร เพื่อให้ทราบว่าผลของการดำเนินงานคืออะไร (What)
ใครเป็นผู้เกี่ยวข้องและมีส่วนได้ส่วนเสีย (Who)
ระบบงานจะส่งผลกระทบอย่างไร (How)
ระบบเริ่มดำเนินงานและสิ้นสุดเมื่อใด เพื่อให้ได้มีการจัดวางตารางเวลาอย่างเหมาะสม ไม่ให้ใช้เวลา มากเกินไปและลดค่าให้จ่ายของระบบให้น้อยที่สุด (When)
การออกแบบระบบใหม่
เป็นการจัดเตรียมส่วนต่าง ๆ แล้วเขียนขั้นตอนหรือรูปภาพแสดง เพื่ออธิบายจุดประสงค์ของระบบหรือ เป้าหมายที่จะทำให้สำเร็จ
ความต้องการของระบบใหม่
การออกแบบระบบจะเกี่ยวข้องกับเชื่อมต่อกิจกรรม กระบวนการงานต่าง ๆ ในองค์การรวมทั้งการใช้ อุปกรณ์ เทคโนโลยีต่าง ๆ เพื่อทำให้บรรลุเป้าหมายขององค์การที่วางไว้
1 more item...
รายงานการศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study Report)
การเขียนรายงานแสดงหัวข้อปัญหา สิ่งที่ควรจะมีในรายงานแสดงหัวข้อปัญหา
แนะนำถึงลักษณะของปัญหาทั่วไป เช่น หัวเรื่องของปัญหา (Subject) ขอบเขตของปัญหา (Scope) เป้าหมายในการแก้ปัญหา (Objectives)
อธิบายถึงแนวทางเบื้องต้นในการแก้ปัญหา
แสดงให้เห็นถึงส่วนที่ก่อให้เกิดปัญหา และก่อนที่ไปเกี่ยวข้องกับข้อมูล
ให้คำนิยามของปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างกระจ่างแจ้งชัดเจน
เน้นให้เห็นถึงเป้าหมายในการศึกษาเพื่อทำการแก้ไขปรับปรุง
ให้คำแนะนำที่ดีเกี่ยวกับปัญหาที่เกิดขึ้น
อธิบายถึงหลักการหรือเหตุผลในการแก้ไข จากแนวความคิดของนักวิเคราะห์ระบบเอง ถ้ามีความจำเป็น
1 more item...
ปัจจัยที่ควรจะศึกษาความเหมาะสม
ความเหมาะสมระหว่างระบบกับบุคลากรในองค์การ
ความเหมาะสมทางด้านเศรษฐกิจ โดยการศึกษาถึงต้นทุนของการใช้ระบบใหม่เปรียบเทียบกับระบบเก่า และผลที่จะได้รับ
ความเหมาะสมทางด้านเทคโนโลยี การทำระบบใหม่ย่อมมีค่าใช้จ่ายในการจัดหาอุปกรณ์ใหม่ ๆ การเลือกใช้ อุปกรณ์ที่เหมาะสมและประโยชน์สูงสุดที่จะได้รับ
ตัวอย่างขั้นตอนในการศึกษาความเหมาะสม ของระบบขององค์การหนึ่ง มีดังนี้
การสัมภาษณ์
ทำการศึกษาจากข้อมูลและรายงานเอกสาร
1 more item...
วิธีการศึกษาความเหมาะสม
มี 2 หัวข้อหลัก
การเข้าใจและกำหนดปัญหาที่แท้จริงของระบบที่จะทำการวิเคราะห์ออกมา
การค้นหาวิธีการแก้ปัญหาที่เป็นไปได้มากที่สุดที่จะเข้าไปแก้ปัญหานั้น ๆ
ปัญหาที่เกิดขึ้น โดยนักวิเคราะห์ระบบจะต้องอธิบายให้เข้าใจถึงปัญหาที่มีอยู่
อธิบายถึงขอบเขตของปัญหา และแนวทางแก้ไขปัญหาเบื้องต้น
แสดงผลของการศึกษาความเหมาะสม
แสดงให้เห็นถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับระบบมากที่สุด
อธิบายระบบทั้งหมด
แสดงรายละเอียดเปรียบเทียบค่าใช้จ่ายและผลตอบแทน
เขียนคำแนะนำลงในรายงาน
แนะนำการจัดทำตารางเวลาของการวางระบบ
1 more item...
สาเหตุที่ต้องทำความเข้าใจระบบเดิมที่ใช้อยู่
เพื่อให้เข้าใจในหน้าที่และความรับผิดชอบของแต่ละบุคคลที่เกี่ยวข้อง
ลักษณะงานบางอย่างมีความคล้ายคลึงกัน
เพื่อที่จะเข้าใจลักษณะการแจกจ่ายงานในองค์การนั้น ๆ
เพื่อแสดงให้เห็นถึงลักษณะการจัดเก็บข้อมูลที่มีความซ้ำซ้อนในระบบปัจจุบัน
เพื่อจะใช้ในการตัดสินใจว่าควรจะคงระบบเก่าไว้
เพื่อที่จะค้นหาระบบควบคุมการทำงานในระบบปัจจุบัน
การจัดเตรียมทำบทสรุปเกี่ยวกับความต้องการของระบบ สิ่งสำคัญที่ควรพิจารณาประกอบในขณะเขียนรายงานบทสรุป คือ
การแยกแยะระหว่างความต้องการที่เกิดขึ้นจริง กับสิ่งที่เป็นแค่ความปรารถนา
ในรายงานควรจะใช้คำว่า “อย่างน้อยที่สุด” แทนคำว่า “อย่างมากที่สุด”
อย่าพยายามเขียนวิธีการแก้ไขพร้อมไปกับความต้องการของระบบ
บทสรุปควรประกอบไปด้วย
ข้อมูลนำเข้า/ผลลัพธ์ (Input/Output)
การะบวนการการทำงาน (Processing)
ฮาร์ดแวร์/ซอฟต์แวร์ (Hardware/Software)
ลักษณะของฐานข้อมูล (File Structure/Database)
1 more item...
เขียนวิธีการตรวจสอบระบบเข้าไปในบทสรุปด้วย การเขียนความต้องการของระบบใหม่
การเขียนกระบวนการทำงาน (Procedure Writing) เป็นสิ่งทีสำคัญในระบบ เพราะกระบวนการทำงาน จะอธิบายการท างานของระบบโดยรายละเอียด
การเขียนกระบวนการทำงาน
เป็นการวางแผนละเอียดลึกลงไปในแต่ละขั้นตอนหรือแต่ละโปรแกรม สำหรับแบบบันทึกรายละเอียด โปรแกรม (Program/Process Specification) จะถูกสร้างขึ้นโดยนักวิเคราะห์ระบบสำหรับบันทึกรายละเอียดของโปรแกรม
การจัดทำแบบบันทึกรายละเอียดโปรแกรม
แฟ้มข้อมูลหรือฐานข้อมูลที่จะทำการเก็บข้อมูลไว้สำหรับระบบ เพื่อที่ระบบงานจะสามารถนำเอาข้อมูลไป ใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ตามต้องการ
การออกแบบแฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
ระบบรักษาความปลอดภัยและความถูกต้องของระบบงาน แบ่งออกได้เป็น 2 ส่วนใหญ่ คือ
ระบบรักษาความปลอดภัยภายนอกระบบงาน (Physical Security)
ระบบรักษาความปลอดภัยกายในระบบงาน (System Security and Integrity) มี 4 วิธีคือ
การใช้รหัส (Password)
การสำรองข้อมูล (System Backups)
การตรวจสอบได้ของระบบ (Audit Trail)
การเรียกคืนข้อมูลและเริ่มต้นใหม่ของระบบ (Recovery and Restart Needs)