Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลมารดาและทารกที่มีภาวะเสี่ยงอันตรายและภาวะแทรกซ้อนทางอายุรกรรม -…
การพยาบาลมารดาและทารกที่มีภาวะเสี่ยงอันตรายและภาวะแทรกซ้อนทางอายุรกรรม
7.5.6 ภาวะการไม่เขา้กันของหมู่เลือดระบบ Rh (Rh Incompatibility)
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
การไม่เข้ากันของกลุ่มเลือด Rh ของมารดาและทารกในครรภ์ Rh เป็น Antigen ตัวหนึ่งที่มเีม็ด เลือดแดง พบในคนผิวขาวร้อยละ 85 และร้อยละ 95 พบในคนผิวดำ อินเดียนแดง และภาค ตะวันออกของอเมริกา มี Rh positive นอกนั้นจะมี Rh negative
พยาธิสรีรภาพ
Rh Isoimmunization ------ เกิดเมื่อแม่มี Rh negative และทารกมี Rh positive ในขณะตั้งครรภ์----- Rh positive ของทารกจะผ่านรก---- เข้าไปในระบบไหลเวียนเลือดของมารดา ทำให้เกิดการสร้าง antibodies
อาการและอาการแสดง
ทารกจะซีดมาก ์ทารกจะซีดมาก อาจเกิดหัวใจวายตัวบวมนํ้าที่
เรียกว่า hydrops fetalis และอาจเสียชีวิตในครรภ์ได้
ผลกระทบ
ผลกระทบต่อมารดา
ไม่ค่อยพบผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
ผลกระทบต่อทารก
neonatal anemia, hydrops fetalis, ตับและม้ามโต, hyperbilirubinemia, kernicterus, dead fetus in uterus,
still birth
การประเมินและวินิจฉัย
การซักประวัติการตรวจกลุ่มเลือด
การตรวจร่างกาย ทารกมีภาวะโลหิตจาง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
3.1 ระดับของ bilirubin
3.2 ผลการตรวจ Coombs’ test
3.3 ผลการตรวจความเข้มข้นของเลือดพบ hematocrit ต่ำมาก reticulocyte count สูง
แนวทางการรักษาและการพยาบาล
ป้องกันการเกิด Isoimmunization (Rh Isoimmunization)
เฝ้าระวังและตรวจหา antibodies ในหญิงตั้งครรภ์ และการดูแลสุขภาพของทารกในครรภ์ โดยให้การดูแลดังนี้
2.1 การเจาะเลือดครั้งแรกที่มาฝากครรภ์ เพื่อตรวจหาหมู่เลือด Rh typing ทุกรายหากหญิง ตั้งครรภ์
2.2 ควรตรวจ Indirect Coomb’s test อีกครั้ง เมื่ออายุครรภ์ 28 สัปดาห์
2.3 ควรให้คำแนะนำเพื่อให้หญิงตั้งครรภ์เข้าใจถึงแผนการรักษา
7.5.7 โรคโลหิตจางจากโรคธาลัสซีเมีย (Thalassemia)
สาเหตุ
ถ่ายทอดทางพันธุกรรมแบบ autosomal recessive
พยาธิสรีรภาพ
คนปกติร่างกายจะมี α-globin และ β-globin เมื่อเกิดความผิดปกติยีนทำให้การสังเคราะห์ α-globin และ β-globin ลดน้อยลงหรือไม่สร้างเลย ทำให้ globin ที่ เหลืออยู่รวมตัวกันเอง แล้วตกตะกอนอยู่ในเม็ดเลือด ทำให้เลือดแดงมีรูปร่างผิดปกติ ขาดความ ยืดหยุ่นผนังของเม็ดเลือดแดงถูกทำลายง่าย
อาการและอาการแสดง
อาการรุนแรงมาก (thalassemia major) คือ homozygous α-thalassemia (Hb Bart’s hydrop fetalis) เป็นกลุ่มที่มีอาการรุนแรงที่สุด ส่วนใหญ่จะเสียชีวิตตั้งแต่อยู่ในครรภ์หรือเสียชวีิต ไม่กี่ชั่วโมงหลังหลอด ทารกจะมีลักษณะบวมน้ำทั้งตัว ซีด ตับม้ามโต รกมีขนาดใหญ
อาการรุนแรงปานกลาง (thalassemia intermediate) ได้แก่ Hb H, α-thalassemia/Hb CS โดยจะมีอาการซีดปานกลาง ตับและม้ามโต ตัวเหลืองตาเหลือง
กลุ่มที่ไม่มีอาการ (thalassemia minor) ได้แก่กลุ่มที่เป็นพาหะ และกลุ่ม homozygous Hb E, homozygous Hb CS โดยจะไม่มีอาการแสดง แต่อาจมีฮีโมโกลบินต่ำกว่าปกติเล็กน้อย
ผลกระทบ
ผลกระทบต่อมารดา
1.มีโอกาสติดเชื้อเนื่องจากความต้านทานต่ำ
2.เสี่ยงต่อการแท้ง
3.คลอดก่อนกำหนด
4.ความดันโลหิตสูงระหว่างตั้งครรภ์
5.คลอดยาก เนื่องจากทารกมีท้องบวมโต และอาจตกเลือดหลังคลอด เนื่องจากมดลูกหดรัดตัวไม่ดี
ผลกระทบต่อทารก
1.เกิดภาวะขาดออกซิเจนเรื้อรัง
2.ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
3.น้ำหนักน้อย หรือขาด ออกซิเจนในระยะคลอด
การประเมินและวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย อาจพบภาวะซีด ตับและม้ามโต ตัวเหลือง ตาเหลือง มีโครงสร้างใบหน้า เปลี่ยนแปลงผิดปกติ (Thalassemia facies)
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ตรวจ CBC จะพบ Hb, Hct และจำนวนเม็ดเลือดแดงต่ำกวา่ปกติ
แนวทางการรักษา
การให้ความรู้ คำแนะนำเกี่ยวกับ สาเหตุ อาการ การดำเนินของโรค การรักษา และการ ควบคุมป้องกันโรค
ทางเลือกของคู่สมรสที่มีอัตราเสี่ยงในการมีลูกเป็นโรคชนิดที่รุนแรง
การให้เลือด เพื่อป้องกันไม่ให้มีภาวะซีด
การให้ยาขับเหล็ก ให้ในรายที่ได้รับเลือดมากกว่า 10-20 ครั้ง
การตัดม้าม จะทำในรายที่มีอาการปานกลางถึงรุนแรงที่ม้ามโตจนเกินการกดเบียด
การปลูกถ่ายไขกระดูก
การพยาบาล
อธิบายให้สตรีตั้งครรภ์ที่เป็นพาหะของธาลัสซีเมีย และสามีเข้าใจถึงความจำเป็นในการคัด กรองหาพาหะธาลัสซีเมีย เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการรักษา
อธิบายสตรีตั้งครรภ์และครอบครัวเกี่ยวกับโรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย ลักษณะของการถ่ายทอด ทางพันธุกรรม ความแตกต่างระหว่างเป็นโรคและเป็นพาหะ
ในกรณีที่ทั้งสตรีตั้งครรภ์และสามีเป็นคู่เสี่ยงของโรคธาลัสซีเมียที่อาการรุนแรง ควรแนะนำ เกี่ยวกับการตรวจวินิจฉัยทารกในครรภ์ก่อนคลอด และให้สตรีตั้งครรภ์และสามีตัดสินใจว่าจะ ดำเนินการตั้งครรภ์ต่อไปหรือยุติการตั้งครรภ์
ในกรณีที่ตัดสินใจที่จะยุติการตั้งครรภ์ให้การสนับสนุนทางด้านจิตสังคมแก่สตรีตั้งครรภ์และ ครอบครัว พร้อมทั้งให้การดูแลให้ได้รับการส่งต่อเพื่อปรึกษานักจิตวิทยาเมื่อมีความจำเป็น
ในกรณีที่ดำเนินการตั้งครรภ์ต่อ แนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ โดยเน้นการ ป้องกันการติดเชื้อในระบบต่าง ๆ
7.5.5 ภาวะการไม่เขา้กันของหมู่เลือดระบบ ABO (ABO Incompatibility)
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
หมู่เลือดระบบ ABO ไม่เข้ากับมารดา ส่วนใหญ่จะพบในทารกหมู่เลือด A หรือ B ที่เกิดจากมารดาหมู่เลือด O แนวโน้มทารกที่มีอาการรุนแรงมักจะเกิดในคนผิวดำ (Black) เนื่องจาก anti-A และ anti-B จะมี ความแรงมากกว่าคนเอเชีย (Asian) และคนผิวขาว (Caucasian)
พยาธิสรีรภาพ
anti-B ในมารดาที่มี หมู่เลือด A หรือ subgroup A2 เป็นสาเหตุให้ทารกหมู่ เลือด B เกิดภาวะเม็ดเลือดแดงแตกได้ ทารกหมู่เลือด A1 B มีภาวะเม็ดเลือดแดงแตกอย่างรุนแรง หลังคลอดจากมารดาหมู่เลือด B โดยทั่วไป anti-A มักจะเป็นสาเหตุของภาวะเม็ดเลือดแดงแตกใน ทารกแรกเกิดได้บ่อยกว่า anti-B1 ชนิดของ IgG นั้นมีความสำคัญต่อการเกิดภาวะเม็ดเลือดแดงแตก ในทารก
อาการและอาการแสดง
ตัวเหลือง
ภาวะแทรกซ้อน
เสี่ยงต่อการที่สมองถูกทำลายอย่างรุนแรงจากภาวะ kernicterus
แนวทางการประเมินและวินิจฉัย
การซักประวัติการตรวจกลุ่มเลือด และประวัติการตั้งครรภ์และการคลอดทผี่่านมาเกี่ยวกับการ ไม่เข้ากันของกลุ่มเลือด ABO
การตรวจร่างกาย ทารกที่มีจุดเลือดออกตามตัว ตับ ม้าม พบว่าเกิดจาการติดเชื้อภายใน ครรภ์ อาการซีดอาจเกิดจากการแตกทําลายของเม็ดเลือด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
3.1. ระดับบิลิรูบินใน serum
3.2. ตรวจนับเม็ดเลือด นับจํานวน reticulocytes และ ตรวจลักษณะรูปร่างเม็ดเลือดแดง บนแผนสไลด์ฟิล์มเลือด
3.3. ตรวจหมู่เลือด ของมารดาและทารกแรกเกิด หากแม่มีเลือดกรุ๊ป O ลูกทารกเป็น A หรอืฺ B และตัวเหลืองลูกก็อาจเป็น AO หรือ BO incompatibility
3.4. Direct Coomb’s test เพื่อตรวจหา maternal antibodies Rh and ABO typing เพื่อหาสาเหตุ hemoglobin levels และ RBC counts เพื่อประเมินความรุนแรงของ anemi