Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาทกล้ามเนื้อเเละกระดูก, นางสาวอาทิตยา…
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาทกล้ามเนื้อเเละกระดูก
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับสติปัญญบกพร่อง
อาการสำคัญ
ไม่รู้สึกตัว เกร็งเมื่อกระตุ้น หายใจไม่มีประสิทธิภาพ พัฒนาการล่าช้า
ผู้ที่มีประวัติ สมองขาดออกซิเจน นึกถึง Cerebral palsy
สมองพิการ (CP: Cerebral palsy)
ชนิดของสมองพิการ
Mixed type หลายอย่างรวมกัน
กล้ามเนื้อเเข็งเกร็ง (Splastic)
Splastic hemiplegia ผิดปกติที่เเขนขาซีกใดซีกหนึ่ง
Splastic quadriplegia คอเเละลำตัวอ่อนผิดปกติ ศีรษะเล็ก น้ำลายไหล
Splastic dilemma ขาผิดปกติมากกว่าเเขน
Extrapyramidol cerebral palsy (athetoidsis) บังคับส่วนต่างๆของร่างกายให้ไปในทิศทางที่ต้องการไม่ได้กล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียก
At axis cerebral palsy เดินเซ ล้มง่าย กล้ามเนื้อตึงตัวน้อยทรงตัวไม่ดี
อาการเเละอาการเเสดง
มีการเจริญเติบโตเเละพัฒนาการช้า
อาการอื่นๆ ร่วม เช่น ชัก หูหนวก ตาบอด
ปัญญาอ่อน
การประเมินสภาพ
ซักประวัติ : มาดามีการติดเชื้อขณะคลอด
ประเมินร่างกาย : เส้นรอบศีรษะไม่เพิ่มขึ้น ท่าทางการเคลื่อนไหวผิดปกติ
บทบาทของพยาบาลในการดูเเลเด็กที่มีความผิดปกติของระบบประสาท
การให้คำเเนะนำบิดามารดาของผู้ป่วยเด็กโรคระบบประสาท
การตรวจพิเศษ
การรวบรวมข้อมูลภาวะสุขภาพ
การประเมินสัญญาณชีพ
การดูเเลเด็กที่มีความผิดปกติทางระบบประสาท
ความไม่รู้สึกตัว
ท่าทาง (Posturing) ของเด็กในภาวะไม่รู้สึกตัว
Decerebrate posturing ท่านอนเเบนี้จะพบในเด็กหมดสติที่สมองส่วน Midbrain ไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ
Decorticate posturing ท่านอนเเบบนี้จะพบในเด็กหมดสติที่มีการทำลายของเนื้อสมองส่วน Cerebral cortex อย่างรุนเเรง
Glasgow Coma scale ในเด็ก
การตอบสนิงด้วยการเคลื่อนะไหว (motor response : M)
กรณีเด็กอายุ 0-4 ปี
กรณีเด็กอายุ 5-18 ปี
การตอบสนองด้วยการลืมตา (Eye Opening : E)
การตอบสนองการพูด (Verbral response : V)
กณีเด็กอายุ 0-4 ปี
กรณีเด็กอายุ 5-18 ปี
เป็นภาวะการทำงานของสมองที่ไม่มีการตอบสนองต่อสิ่งเร้า
ระดับของความรู้สึกตัว
ระดับความรู้สึกง่วงงุน (Iethargy /droeay) ผู้ป่วยเคลื่อนไหวได้เล็กน้อยมีอาการง่วงงุน พูดช้า กระตุ้นด้วยสิ่งเร้าหรือปลุก จะโต้ตอบปกติ
ระดับความรู้สึกตัวดี (full consciousness) ผู้ป่วยตื่นเเละรู้สึกตัวดี รับรู้วัน เวลา บุคคล เเละสถาที่ปกติ
ความรู้สึกสับสน (Confusion) ผู้ป่วยรู้สึกสับสนผิดปกติเกี่ยวกับการตัดสินใจ
ความรับรู้ผิดปกติ (Disorientation) ผู้ป่วยไม่รับรู้ต่อ วัน เวลา บุคคล เเละสถานที่ ความรู้สึกตัวลดลง
ระดับความรู้สึก stupor ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว ไม่ตอบสนองที่งการเคลื่อนไหวหรือวาจา เเละต่อสิ่งกระตุ้นต่างๆ
ระดับหมดสติ (Coma) ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว ไม่ตอบสนองทั้งการเคลื่อนไหวหรือวาาจา เเละต่อสิ่งกระต้นต่างๆ
ภาวะไม่รู้สึกตัว ร่วมกับการเคลื่อนไหวผิดปกติ
ภาวะชักจากไข้สูง (Febrile convulsion)
อากการชักที่สัมพันธ์กับการมีไข้โดยไม่ได้มีการติดเชื้อของระบบประสาทหรือความไม่สมดุลย์ของเกลือเเร่ในเด็กอายุ >1 เดือน โดยที่ไม่เคยมีอาการชักเเละไม่มีไข้มาก่อน
ปัจจัยเสี่ยงของการชักซ้ำ
อายุ
มีความผิดปกติของระบบประสาท
ประวัติการชักของสมาชิกในครอบครัว
ไข้ที่เกิดร่วมกับการติดเชื้อ
สาเหตุ
การติดเชื้อในระบบต่างๆที่ไม่ใช่ระบบประสาท เช่น ติดเชื้อระบบทางเดินอาหาร ทางเดินปัสสาวะ
อาการ
มีอาการเมื่อ อุณหภูมิสูงกว่า 39 องศาเซลเซียส การชักเกิดขึ้นภายใน 24 ชั่วโมเเรกที่เริ่มมีไข้ พบมากช่วงอายุ 17-24 เดือน
ชนิดของการชักจากไข้สูง
Simple febrile seizure
ก่อน-หลัง ชักไม่มีอาการทางระบบประสาท
ชักเกิดช่วมสั้นๆไม่เกิน 15 นาที
มีไข้ร่วมกับชักในเด็กอายุ 6 เดือน ถึง 5 ปี
ชักเเบบทั้งตัว ไม่มีอาการชักซ้ำ
Complex febrile seizure
ชักนานมากกว่า 15 นาที
เกิดชักซ้ำ
หลังชักมีความผิดปกติของระบบประสาท
การชักเป็นเเบบเฉพาะที่หรือทั้งตัว
มีอัตราเสี่ยงสูงที่จะเกิดโรคลมชัก เเพทย์ให้ยากันชัก
การประเมินสภาพ
การซักประวัติ - ไข้ การติดเชื้อ การได้รับวัคซีน ประวัติการชัก เป็นต้น
ประเมินสภาะร่างกาย - ตรวจร่างกาย
การตรวจพิเศษอื่นๆ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
เยื้อหุ้มสมองอักเสบ (Meningitis)
อาการเเละอาการเเสดง
พบ Neutrophil ร้อยละ 85-95 ใน CSF ประมาณ 1,000-100,000 เซลล์/คิวบิคมิลลิเมตร
ตรวจพบ Kenig sign และ Brudzinski sign ให้ผลบวก
มีอาการคอเเข็ง (Nuchal rigidity คือ มีเเรงต้านเมื่อก้มคอผู้ป่วย)
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ ที่เกิดจากเชื้อเเบคทีเรีย มีอาการไข้สูง หนาวสั่น ปวดศีรษะรุนแรง ปวดข้อ ชัก เเละซึมลงจนหมดสติ
อุบัติการณ์
พบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง ในเด็กอายุระหว่าง 2 เดือน ถึง 7 ปี เชื้อเข้าทางหูชั้นกลางอักเสบ โพรงอาการจมูกอักเสบ
เป็นการอักเสบเฉียบพลันของเยื่อหุ้มสมองชั้นในสุด สมองเเละไขสันหลังเเละเยื่อหุ้มสมองถูกทำลาย
โรคลมชัก (Epilepsy)
ชนิดของโรคลมชักเเละกลุ่ทอาการชัก
อาการชักเฉพาะที่
อาการชักเหม่อ
อาการเกร็งกระตุก
อาการชักกระตุก
อาการชักเกร็ง
อาการชักตัวอ่อน
อาการชักสะดุ้ง
อาการชักทั้งตัว
อาการชักเฉพาะที่เเบบขาดสติ
อาการชักเฉพาะที่ตามด้วยอาการชักทั้งตัว
ชักเฉาะที่เเบบมีสติ
อาการเเละอาการเเสดง
Predictable period คือ ระยะก่อนอาการชัก
อาการเตือน - เเตกต่างกันตามตำเเหน่งของสมอง ขา เห็นภาพหลอน
อาการนำ - ไม่มีอาการจำเพาะระหว่างการเกิดไม่มีอาการเปลี่ยนเเปลงของคลื่อนสมองไฟฟ้าสมอง
Ictal event คือระยะที่เกิดอาการชัก
มีระยะเวลาตั้งเเต่วินาที - นาทีไม่นานเกินครึ่ง ชั่วโมง
เกิดขึ้นเองบางครั้งมีปัจจัยกระตุ้น
เกิดขึ้นทันทีทัันใด
เกิดในระยะสั้นไม่เกิน 5 นาที หยุดเอง
ลักษณะเหมือนกันทุกครั้ง
Postictal peroid คือ ระยะเวลาเมื่อการชักสิ้นสุดลงระยะนี้อาจเกิดดนานหลายวินาที หลายวัน ไม่เกิน 24 ชั่วโมง
Poetical paralysis กล้ามเนื้ออ่อนเเรงเฉพาะที่
Automatism การเคลื่อนไหวร่างกายไปโดยอัตโนมัติขณะชัก เช่น เคี้ยวกา กระพริบตาถี่ๆ
Interictal peroid คือ ช่วงเวลาระหว่างการชักเริ่มตั้งเเต่ระยะเวลาหลังการชักหนึ่งสิ้นสุดลงไปจนถึงเริ่มเกิดการชักครั้งใหม่
สาเหตุ
ไม่ทราบสาเหตุ - ความผิดปกติ Neurotransmission เกิดจากความผิดปกติของยีน
ทราบสาเหตุ - ติดเชื้อระบบประสาทส่วนกลางภยันตรายระหว่างการคลอด/ลังคลอด ที่ศีรษะความผิดปกติของสมดุลเกลือเเร่ พัฒนาการทางสมอง
กลุ่มที่หาสาเหตุไม่ได้ - มีพยาธิสภาพในสมอง อยู่ในกลุ่ม Symtomatic epilepsy
อุบัติการณ์
การชักซ้ำอย่างน้อย 2 ครั้งขึ้นไป เเละอาการชักครั้งที่ 2 ห่างกันมากกว่า 24 ชั่วโมง โดยไ่ได้เกิดจากสาเหตุมัปัจจัยกระตุ้น ผลจากเซลล์ประสาทสมองปล่อยคลื่นไฟฟ้าผิดปกติมีอาการผิดปกติของกล้ามเนื้อลาย เเสดงออกทางระบบประสาทอัตโนมัติ ความรู้สึกตัวลดลง
พบไได้ร้อยละ 4-10 ของเด็กทั่วไป บ่อย คือ 2-5 ปี เพศชายมากกว่าเพศหญิง
โรคไข้กาฬหลังเเอ่น (Meningococcal Meningitis)
อาการเเละอาการเเสดง
ไข้ ปวดศีรษะรุนเเรง อาเจียน คอเเข็ง อาจมีผื่นแดง จ้ำเลือด pink macules ขึ้นตามผิวหนังร่วมด้วยส่วนใหญ่มาด้วยอาการสำคัญ 2 อย่างคือ
Meningoccemia
Meningitis
เกิดจากเชื้อเเบคทีเรีย Neissera meningitdes
วิธีการติดต่อ
เชื้อนี้ติดต่อจากคนสู่คน เชื้อจะออกมาทางละอองน้ำมูก น้ำลายจากปากหรือจมูกของผู้ที่เป็นพาหะ (ผู้ติดเชื้อเเต่ไม่มีอาการ) หรือผู้ป่วย
การเก็บเเละส่งตัวอย่างตรวจ
วิธีทางชีวเคมี และวิธี PCR
วิธีตรวจหาค่า MIC
วิธี seminested-PCR
การป้องกันผู้สัมผัสโรค
บุคคลที่อยู่ร่วมกับผู้ป่วยในบ้านเดียวกัน เเละผู้ที่สัมผัสใกล้ชิด (Close contact) กับผู้ป่วย ต้องได้รับยาป้องกัน ได้เเก่ Rifampicin หรือ ceftriaxone
อาการสำคัญ : ชักเกร็ง ซึม ไม่ดูดนม
กรณีที่ 1 ไม่มีไข้ นึกถึงความผิดปกติของสมอง เนื้องอกในสมอง โรคลมชัก
กรณีที่ 2 มีไข้ นึกถึงความผิดปกติสมองที่เกิดจากการติดเชื้อของเยื่อหุ้มสมองเเละไข้สันหลัง
กรณีที่ 3 มีไข้สูง เกิน 38 องศาเซลเซียส อายุประมาณ 6 เดือน ถึง 5 ปี ไม่มีการติดเชื้อของระบบประสาทนึกถึง Febrile convulsion
เป้าหมายการพยาบาลเด็กที่ไม่รู้สึกตัว
การทำทางเดินหายใจให้โล่ง
ไม่มีภาวะเเทรกซ้อนจากการไม่มามารคเคลื่อนไหวได้
ครอบครัวผู้ป่วยเด็กได้รับความรู้เเละคำเเนะนำเกี่ยวกับความเจ็บป่วย
เเนะนำเกี่ยวกับการดูเเลสุขภาพ
ได้รับการดูเเลขั้นพื้นฐานอย่างมีคุณภาพ
ด้านความสะอาด
ด้านการขับถ่าย
คำเเนะนำในการรับประทานยากันชัก
เเรงดันภายในสมองต้องไม่เพิ่มขึ้น
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับความดันในสมองสูง
โรคอุทุกเศียร : น้ำไขสันหลังคั่งในโพรงสมอง : ภาวะน้ำคั่งในกะโหลกศีรษะ
สาเหตุ
Communicate Hydrocephalus ความผิดปกติในการดูดซึมน้ำไขสันหลัง
Obstructive Hydrocephalus ความผิดปกติในการอุดตันทางเดินน้ำไขสันหลัง
Congenital Hydrocephalus ความผิดปกติในการสร้างน้ำไขสันหลัง
อาการสำคัญ
ศีรษะโตเเต่กำเนิด, กระห่อมหน้าโป่ง, ศีรษะโตเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับทรวงอก
ปวดศีรษะ ซึม ไม่ดูดนม อาเจียนพุ่ง
การรักษา
การรักษาด้วยการผ่าตัด
โรคเเทรกซ้อนจากการผ่าตัด
การทำงานผิดปกติของสายระบายน้ำในโพรงสมอง (Shunt malfunction) มีการอุดตันหรือระบายมากเกิน
การอุตตันสายระบายน้ำในโพรงสมอง
การติดเชื้อของสายระบายน้ำในโพรงสมอง
ภาวะระบายน้ำในโพรงสมองมากเกิน
ภาวะโพรงสมองตีบเเคบ
ภาวะเลือดออกในศีรษะ เกิดเลือดออกในโพรงสมอง
ไตอักเสบ
สายระบายน้ำในโพรงสมองประกอบด้วย 3 ส่วน
วาล์ว (Valve) และส่วนที่เก็บน้ำหล่อสมอง (Reservor)
สายระบายลงช่องท้อง (Peritoneal shunt)
สายระบายจากโพรงสมอง (Ventricular shunt)
การผ่าตัดใส่สายระบายน้ำในโพรงสมองออกนอกร่างกาย
การผ่าตัดใส่สายระบายน้ำโพรงสมองสู่ช่องร่างกาย
การรักษา llCP
การรักษาความผิดปกติที่เกิดต่อเนื่องจากพยาธิสภาพเดิมหรือที่เกิดร่วม
Hydrocephalus : Obstrucive, Communicating
ภาวะสมองบวม
รักษาเฉพาะ
รักษาสาเหตุที่ทำให้เกิด IICP เช่น เนื้องอก การอุดกั้นทางเดินน้ำไขสันหลัง
การรักษาเบื้องต้น กรณีมี IICP สูงอย่างเฉียบพลัน
การให้ยาขับปัสสาวะ (Diuretic) ทางหลอดเลือดดำ
การจัดท่านอนนอนราบศีรษะสูง 15-30 องศา
กรณีผู้ป่วยมีการเปลี่ยนเเปลงทางระบบประสาทอย่างรวดเร็ว ซึมไม่รู้สึกตัว เเพทย์จะรักษาโดยการใส่ท่อหลอดลมคอเเละช่วยหายใจ
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับกล้ามเนื้ออ่อนเเรง
อาการสำคัญ
มีก้อนที่หลัง ขาอ่อนเเรงทั้งสองข้าง ปัสสาวะ อุจจาระ ตลอดเวลา นึกถึง Congenital Spina bifida occulta Meningomyelocele
ไข้ ร่วมกับกล้ามเนื้ออ่อนเเรง มีประวัติ ไม่ได้รับวัคซีนไม่มีมีประวัติการคลอดในโรงพยาบาล เป็นชนต่างด้าว นึกถึง Poliomyelitis
การวินิจฉัย
การตรวจพิเศษ : การตรวจระดับ Alpha fetoprotein ขณะตั้งครรภ์ผิดปกติ
การซักประวัติ : มารดาไม่ได้รับกรดโฟลิคขณตั้งครรภ์
การตรวจร่างกาย : เเขนขนอ่อนเเรง พบก้อนหรือถุงตามเเนวกระดูกสันหลัง
การรักษา
การป้องกัน : ให้กรดโฟลิคเเก่หญิงตั้งครรภ์จะช่วยลดการเกอดโรคได้
Spida bifida occulta ไม่จำเป็นต้องรักษา เเต่ชนิด Cystica ต้องผ่าตัดภายใน 24-48 ชั่วโมงภายหลังเกิด
เป็นอัมพาตครึ่งล่าง มักทำ V P Shunt ภายหลัง
Spina bifida
เเบ่งเป็น 2 ชนิด
Spina bifida cysifica = ผิดปกติของการปิดของส่วนดค้งกระดูกสันหลัง ทำให้การยื่นนของไขสันหลัง หรือเยื่อหุ้มสมองผ่านกระดูกออกมาให้เห็นเป็นถุง หรือก้อน มี 2 ชนิด Meningocele, Myelomeningcoele
Spina bifida occulta = ส่วน Vetevral arches ไม่รวมตัวกัน เกิดเป็นช่องโหว่ระหว่างเเนวกระดูกสันหลัง เกิดบริเวณ L5 หรือ S1
Myelomeningocele คือ ส่วนที่ยื่นออกมามีทั้ง CSF เเละเนื้อไขสันหลัง
มี hydrocephalus ร่วมด้วยร้อยละ 80-90
พบบ่อยที่สุดบริเวณ lumbosacrum
เป็นความบกพร่องของกระดูกไขสันหลังมีถุงยื่นผ่านจากกระดูกสันหลังออกมาตามตำเเหน่งที่บกพร่องนั้น
นางสาวอาทิตยา ว่องประเสริฐ นักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 3 ห้อง A รหัส 613601102