Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการพยาบาล (NURSING PROCESS) - Coggle Diagram
กระบวนการพยาบาล (NURSING PROCESS)
ขั้นตอนของกระบวนการพยาบาล NURSING PROCESS
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health
Assessment)
1.1 การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data
Collection)
1.2 การวิเคราะห์ข้อมูล (Analysis of
Data)
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing
Diagnosis)
2.1 การกำหนดข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
(Defined Nursing Diagnosis)
2.2 การกำหนดข้อมูลสนับสนุน (Defined
data support)
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
4.1 การปฏิบัติการพยาบาลตามแผนการพยาบาล
4.2 การบันทึกทางการพยาบาล (Nursing
documentation)
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
3.1 การจัดล าดับความส าคัญของปัญหา
(Priority)
3.2 การก าหนดเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ของ
การพยาบาล (Goal/Objective)
3.3 การก าหนดเกณฑ์การประเมินผลการ
พยาบาลหรือผลลัพธ์ที่คาดหมาย
การก าหนดกิจกรรมการพยาบาล
(Nursing activity)
5.การประเมินผลการพยาบาล (Evaiuation)
แนวคิด
การปฏิบัติการพยาบาลที่ช่วยให้ผู้รรับบริการ ได้รับริการที่มีคุณภาพเนื่องจากเป็นแนวทางในการปฏิบัติอย่างมีคุณภาพ ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน
การประเมินภาวะสุขภาพ
การวินิจฉัยการพยาบาล
การวางแผนการพยาบาล
การปฏิบัติการพยาบาล
และการประเมินผลการพยาบาล
ความหมายของกระบวนการพยาบาล
ทฤษฎีไปสู่การปฏิบัติการพยาบาลมีประสิทธิภาพ
ระบบ เป็นขั้นตอนและ มีความต่อเนื่อง ท าให้การน าความรู้ทาง
เป็นการแก้ปัญหาตามหลักวิทยาศาสตร์ที่มี
การแก้ปัญหาที่น ามาใช้ให้เฉพาะเจาะจง
ส าหรับศาสตร์ สาขาพยาบาล ประยุกต์ใช้ได้ในทุกสถานการณ์ของพยาบาล
เป็นกระบวนการทางสติปัญญา (Cognitive process)
ความสำคัญของกระบวนการพยาบาล
กระบวนการพยาบาลช่วยให้การปฏิบัติพยาบาลมีคุณภาพมาตรฐาน
พยาบาลทราบถึง
เป้าหมายของการพยาบาลชัดเจน ช่วยให้การดูแลผู้ป่วยได้ครอบคลุมและต่อเนื่อง
กระบวนการพยาบาลส่งเสริมให้พยาบาลมีทักษะในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
ช่วยให้พยาบาลได้ฝึกทักษะการใช้
ความคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical thinking)
ผู้รับบริการได้รับการดูแลอย่างมีคุณภาพ
กระบวนการพยาบาลช่วยในการสื่อสารของทีมการพยาบาลให้มีประสิทธิภาพ
ทำให้ทีมการพยาบาลมีความ
เข้าใจตรงกัน
ลดความซ้ าซ้อนหรือความผิดพลาดในการ
ปฏิบัติการพยาบาล
กระบวนการพยาบาลช่วยให้การมอบหมายงานได้เหมาะสมกับสถานการณ
ช่วยให้มีการแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ และได้รับข้อเสนอแนะจากผู้ร่วมงาน
ช่วยให้มีแนวทางในการมอบหมายงานแก่เจ้าหน้าที่ในทีมพยาบาลเนื่องจากมีการวาง
แผนการพยาบาลไว้ล่วงหน้า
กระบวนการพยาบาลแสดงถึงเอกลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล
ทำให้พยาบาลวิชาชีพมี
ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของตนเองมาก
กระบวนการพยาบาลส่งเสริมให้มีการพัฒนาวิชาชีพ
มีส่วนส่งเสริมให้พยาบาลมีการท าวิจัย
มากขึ้น เกิดความก้าวหน้าทางวิชาชีพ
ปัญหาการใช้กระบวนการพยาบาลและแนวทางแก้ไข
นักศึกษาพยาบาลมีความสามารถเกี่ยวกับการ
น ากระบวนการพยาบาลมาใช้ในการ
ปฏิบัติงานอยู่ในระดับปานกลาง นักศึกษา
ขาดความรู้ความเข้าใจและทักษะการใช้
กระบวนการพยาบาลในการปฏิบัติงาน
แนวทางแก้ไข
ฝ่ายบริการพยาบาล
ควรก าหนดนโยบายการใช้กระบวนการพยาบาลในการปฏิบัติพยาบาลให้ชัดเจนมี
ระบบ
ควรจัดจ านวนบุคลากรให้มีสัดส่วนพอเหมาะกับจ านวนผู้ป่วย
ควรมีการจัดอบรมให้ความรู้
ควรจัดให้มีเอกสาร ต ารา
ควรส่งเสริมการท าวิจัย
• ฝ่ายการศึกษา
ควรจัดการเรียนการสอน เน้นให้นักศึกษาคิดวิเคราะห์ และฝึก
ประสบการณ์ในการวินิจฉัยการพยาบาลมากขึ้น
ผู้สอน
ควรปลูกฝังทัศนคติที่ดีต่อการเรียนกระบวนการพยาบาลให้แก่นักศึกษา
พยาบาล เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจว่ากระบวนการพยาบาลกับการปฏิบัติงานในคลินิกเป็น
สิ่งที่สามารถปฏิบัติควบคู่ไปด้วยกันได
ควรมีการพัฒนาอาจารย์ ให้มีความเข้าใจในแต่ละขั้นตอนของกระบวนการพยาบาล การใช้ภาษาในการเขียนข้อวินิจฉัยการพยาบาลควรมีความยืดหยุ่น เหมาะกับ
สังคมไทย และเป็นแนวเดียวกัน
กรอบแนวคิดแบบแผนสุขภาพของกอร์ดอน
(Gordon)
แบบแผนที่ 1 การรับรู้ภาวะสุขภาพและการดูแลสุขภาพ (Health perception and
Health management)
แบบแผนที่ 2 โภชนาการและการเผาผลาญสารอาหาร (Nutrition and Metabolism)
แบบแผนที่ 3 การขับถ่าย (Elimination)
แบบแผนที่ 4 กิจกรรมและการออกก าลังกาย (Activity and Exercise)
แบบแผนที่ 5 การพักผ่อนนอนหลับ (Sleep and Rest)
แบบแผนที่ 6 สติปัญญาและการรับรู้ (Cognition and perception)
แบบแผนที่ 7 การรับรู้ตนเองและอัตมโนทัศน์ (Self perception and Self concept)
แบบแผนที่ 8 บทบาทและสัมพันธภาพ (Role and Relationship)
แบบแผนที่ 9 เพศและการเจริญพันธุ์ (Sexuality and Reproduction)
แบบแผนที่ 10การปรับตัวและการทนทานต่อความเครียด(Coping and Stress tolerance)
แบบแผน 11 คุณค่าและความเชื่อ (Value and Belief)