Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 การรักษา พยาบาล ด้านปัจจุบันพยาบาลและภาวะฉุกเฉิน - Coggle Diagram
บทที่ 8 การรักษา พยาบาล ด้านปัจจุบันพยาบาลและภาวะฉุกเฉิน
หลักการประเมินอาการผู้ป่วยในภาวะฉุกเฉิน
ขั้นตอนที่ 1
การประเมินอาการเบื้องต้น
:fire:
Airway
= ประเมินว่าผู้ป่วยได้รับอากาศในการหายใจเพียงพอ และทางเดินหายใจไม่อุดกั้น
:fire:
Breathing
= ประเมินว่าผู้ป่วยสามารถหายใจได้เองเพียงพอหรือไม่ สังเกตและค้นหาอาการสำคัญที่มีผลต่อการหายใจ
:check: Tension, Peumothorax, Flail chest
:fire:
Circulation, Bleeding
= ประเมินอัตราการเต้นของชีพจร ความดันโลหิต ค้นหาบริเวณจุดเลือดออกทั้งภายนอกและภายในร่างกายอย่างรวดเร็ว
:fire:
Neurogical evaluation
ประเมินระดับความรู้สึกตัว (Level of conscious)
โดยใช้
:warning: GCS
:warning: ตรวจสอบขนาดรูม่านตาและปฏิกิริยาต่อแสง
ประเมินการบาดเจ็บบริเวณไขกระดูกสันหลัง/กระดูก
:check: โดยเฉพาะกระดูกต้นคอ
:warning: กรณีพบว่ามีอาการบวม มีการเกร็งกล้ามเนื้อบริเวณนั้น ต้อง
Immobilize ส่วนคอไว้ทันที
ไม่ให้เคลื่อนไหว :!!:
การประเมินการบาดเจ็บอย่างรวดเร็ว (Rapid trauma assessment)
การค้นหาลักษณะของการบาดเจ็บ >>
DCAP BTLS
<<
D
= Deformities
**
การผิดรูป
C
= Contusion
**
รอยฟกช้ำ
A
= Abrasion** แผลถลอก
P
= Puncture/ Penetrations** การมีรู/แผลจากการถูกแทง
B
= Burns** แผลพอง แผลไหม้
T
= Tenderness** ตำแหน่งเจ็บ
L
= Lacerations** แผลฉีกขาด
S
= Swelling** อาการบวม
ขั้นตอนการประเมินผู้บาดเจ็บอย่างรวดเร็ว
:silhouette:
ยึดตรึงกระดูกไขสันหลังส่วนคอไว้เสมอ
(C-spine stabilization)
:silhouette:
ประเมินศีรษะ
( Assess the head DCAP-BTLS and crepitus)
:silhouette:
ประเมินคอ
(Assess the neck DCAP-BTLS, Jugular vein distension, crepitus)
:silhouette:
ใส่อุปกรณ์ดามคอ
(Apply cervical spinal immobilization collar)
:silhouette:
ประเมินทรวงอก
(Assess the chest DCAP-BTLS, paradoxical motion, crepitus, breath sound)
:silhouettes:
ประเมินช่องท้อง
(Assess the abdomen DCAP-BTLS, rigidity, distension)
:silhouette:
ประเมินกระดูกเชิงกราน
(Assess the pelvic DCAP-BTLS, tender, instability)
:silhouette:
ประเมินรยางค์ทั้ง 4
(Assess all four extremities DCAP-BTLS, pulse, sensation, motor)
:silhouette:
พลิกตัวผู้ป่วยด้วยความระมัดระวัง และประเมินด้านหลัง
(Posterior DCAP-BTLS)
:silhouette:
ประเมินสัญญาณชีพและซักประวัติ
(Assess vital signs and SAMPLE history)
ขั้นตอนที่ 2
การเก็บรวบรวมข้อมูลการเจ็บป่วย
:warning: การซักประวัติการเจ็บป่วย
:warning: การตรวจร่างกาย
การประเมินระดับความรู้สึกตัว
การประเมินสัญญาณชีพ
การประเมินอาการและอาการแสดง
:warning: การใช้ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ/การตรวจพิเศษ
Urgency = ฉุกเฉินมาก
:no_entry:
บวมผิดรูปหน้าแข้ง
(film+ใส่เฝือก)
:no_entry:
ไข้ ปวดท้องน้อย
(Acute appendicitis)
(CBC+UA+consult, admit)
:no_entry:
แผลที่กระจกตา
(ต้อง consult eye)
:no_entry:
ปวดท้องลิ้นปี่ ดื่มสุราประจำ (Acute pancreatitis)
(Amylase+ฉีดยา)
:no_entry:
ไหล่หลุด
(X-ray, ดึงไหล่, ฉีดยา)
:no_entry:
แผลฉีกขนาดใหญ่ แต่บวมมาก
(เย็บแผล+x-ray)
:no_entry:
Diarrhea with dehydration
(iv fluid+ส่งตรวจเลือด)
:no_entry:
ข้อเท้าพลิก บวมผิดรูป สงสัย Fx.
(x-ray, ใส่เฝือก)
:checkered_flag: ปฐมพยาบาลเบื้องต้น+ส่งต่อทันที
Semi-urgency = กึ่งฉุกเฉิน
:check: แผลที่เท้าฉีกที่อาจต้องเย็บ
:check: ข้อเท้าพลิก ไม่ผิดรูป บวมเล็กน้อย (x-ray)
:check: ปัสสาวะแสบขัด ไม่มีไข้ (UA)
:check: ปัสสาวะไม่ออก ต่อมลูกหมาก (retained foley's)
:check: ปวดฟัน แนวโน้มที่ต้องฉีดยา
:check:ปวดท้องลิ้นปี่ โรคกระเพาะ แนวโน้มที่ต้องฉีดยา
:checkered_flag: บรรเทาอาการ+ส่งปรึกษาแพทย์
วินิจฉัยเพิ่มเติมใน 1-7วัน
Non-urgency = ไม่ฉุกเฉิน
:warning: DM ยาหมด
:warning: ไอ เจ็บคอ ผู้ป่วย look well
:warning: ปวดหัวไมเกรนเล็กน้อย
:warning: ปวดท้องลิ้นปี่เล็กน้อย
:warning: ปวดหลังเล็กน้อย
:warning: ถ่ายเหลวเล็กน้อย
:warning: ผิวหนังอักเสบ
:warning: สิว
:checkered_flag: ให้ยาบรรเทา + แนะนำการดูแลตนเอง + ติดตามผล (หากไม่ดีขึ้นส่งปรึกษาแพทย์)
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
กลุ่มอาการที่ต้องได้รับการวินิจฉัยเพิ่มเติม
กลุ่มอาการที่ต้องวินิจฉัยแยกโรคและให้การรักษาโรคเบื้องต้น
กลุ่มอาการฉุกเฉิน ที่ต้องช่วยเหลือเบื้องต้น
การปฐมพยาบาลและการดูแลผู้ป่วยในด้านปัจจุบันพยาบาลและในภาวะฉุกเฉิน การส่งต่อและการรับผู้ป่วยเพื่อการรักษาต่อเนื่องตามขอบเขตของกฎหมาย
>>38 อาการ<<
1
>> การหยุดหายใจและระบบไหลเวียนโลหิตไม่ทำงาน (Cardiopulmonary arrest)
อาการ
:warning: ไม่รู้สึกตัว หยุดหายใจ คลำ pulse ไม่ได้
การรักษาเบื้องต้น
ประเมิน ABCs(Neuro sign)
A = Airway
นอนราบศีรษะต่ำเล็กน้อย ตะแคงหน้า ล้วงสิ่งของในปากออก
B = Breathing
จัดท่าให้ทางเดินหายใจโล่ง คลายเสื้อผ้าให้หลวม ห่มผ้าให้ความอบอุ่น
:warning: อาจช่วยหายใจโดยใช้อุปกรณ์ต่างๆ เพื่อป้องกันการสัมผัสปากผู้ป่วยโดยตรง
C = Circulation
การนวดหัวใจ โดยเป่าลม 2 ครั้ง สลับนวดหัวใจ 30 ครั้ง
ให้ isotonic solution IV
ให้ Adrenaline 1:1000 3-5ml IV ตาม standing order
ส่งต่อ
2 >> การหมดสติ (Unconsciousness)
อาการ
:check: หายใจผิดปกติ BP สูง/ต่ำ ไข้สูง มีบาดแผลที่ศีรษะ
:warning: อาการทางระบบประสาทร่วม เช่น ชักเกร็ง ขนาดรูม่านตาเปลี่ยน
การรักษาเบื้องต้น
ประเมินความรู้สึกตัว ABCs
ให้ O2, Isotonic solution IV
:check:
จัดให้นอนตะแคงกึ่งคว่ำ ไม่หนุนหมอน จับศีรษะและคอเชิดเล็กน้อย
:red_cross:ป้องกันลิ้นตกอุดกั้นทางเดินหายใจ
ห่มผ้า
NPO
กรณีหมดสติ + hypoglycemia => 50% glucose IV
กรณีหมดสติจากการรับประทานสารพิษมาภายใน 1hr ให้ใส่สายสวนและล้างกระเพาะอาหาร (on NG tube with lavarge) :no_entry: ยกเว้น รับประทานกรด/ด่าง (ผงซักฟอก น้ำยาล้างห้องน้ำ น้ำยาล้างจาน)
ส่งต่อ
3 >> ภาวะช็อค (Shock)
อาการ
ระบบไหลเวียนล้มเหลว :warning: BP < 90/60 mmHg, Pulse pressure < 20 mmHg
:warning: กระสับกระส่าย ชีพจรเบาเร็ว เหงื่อออก ตัวเย็น อาเจียน ปัสสาวะออกน้อย/ไม่ออก หายใจเร็ว ถี่ ไม่สม่ำเสมอ หมดสติ (อาจมีม่านตาไม่ค่อยตอบสนองต่อแสง)
การพยาบาล
ประเมินความรู้สึกตัว ABCs
:check:
จัดให้นอนราบยกขาสูง
, ห่มผ้า, NPO, ให้ O2
Retain foley catheter
แก้สาเหตุการช็อค เช่น เสียเลือดจากแผล = ทำการห้ามเลือด :!!:
ส่งต่อ
4 >> ชัก (Seizure)
อาการ
:warning: เกร็งกระตุก เหม่อลอย ตาค้าง น้ำลายไหล N/V จำเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นไม่ได้ หมดสติในเวลาต่อมา
:no_entry: เกิดจากความผิดปกติของการทำงานของเซลล์สมองส่วนเปลือกสมอง (Cerebral cortex)
Localized seizure (focal, partial) ลมบ้าหมู
Generalized seizure = ชัก ปัสสาวะราด
การพยาบาล
ประเมินความรู้สึกตัว ABCs
ให้ O2, IV ไว้ฉีดยาเมื่อชักซ้ำ
:no_entry:
จัดให้นอนตะแคงกึ่งคว่ำ ไม่หนุนหมอน จับศีรษะและคอเชิดขึ้นเล็กน้อย
ป้องกันลิ้นตกอุดกั้นทางเดินหายใจ :check: ให้อยู่ในสถานที่ปลอดภัย ป้องกันอุบัติเหตุ ยกเหล็กกั้นเตียงขึ้น
กรณีมีไข้ เช็ดตัวลดไข้
ส่งต่อ
5 >> การแพ้อย่างรุนแรง (Anaphylaxis)
อาการ
ผื่นคัน ไอ จาม น้ำมูกไหล ใจสั่น เป็นลม การรู้สึกตัวเปลี่ยน ช็อค หมดสติ เสียชีวิต
การพยาบาล
ประเมินความรู้สึกตัว ABCs
ให้ O2, Isotonic IV
ให้ Adrenaline 1:1000 0.3-0.5ml IM, IV :no_entry: ให้ยาแก้แพ้
:no_entry:ถ้ามี Bronchospasm ให้ยาขยายหลอดลม ตาม standing order
ส่งต่อ
6 >> เป็นลม (Syncope/ Fainting)
อาการ
ไม่รู้สึกตัว ชีพจรเบาเร็ว หายใจผิดปกติ อาเจียน กระวนกระวาย หมดสติ แน่นหน้าอก หายใจหอบถี่แรง เหงื่อออกมาก
เป็นภาวะหมดสติชั่วคราว เกินทันทีทันใด มักพบ :!: สูญเสียการทรงตัว
:check: อาการเตือน วิงเวียน ใจสั่น หูอื้อ ตาลาย
การพยาบาล
ประเมินความรู้สึกตัว ABCs
ให้อยู่ในที่ร่ม อากาศถ่ายเท :check:
นอนราบไม่หนุนหมอน
คลายเสื้อผ้าให้หลวม
กรณีระบบหายใจและระบบไหลเวียนไม่ทำงาน => CPR
:warning: กรณีมี hypoglycemia ให้รักษาตามแนวทาง --> เสี่ยงหยุดหายใจ :!!:
ส่งต่อ
7 >> โรคหลอดเลือดสมอง (Strok/ Cerebraovascular disease)
อาการ
:warning: หมดสติ อ่อนแรงทั้งตัว/บางส่วน ชาครึ่งซีก/เฉพาะส่วน คอแข็ง ตามัว/มองไม่เห็นทันทีทันใด พูดไม่ชัด ตะกุกตะกัก ไม่เข้าใจคำพูด ปวดศีรษะเฉียบพลันและรุนแรงแบบไม่เคยเป็นมาก่อน เดินลำบาก เป็นลม
การพยาบาล
ประเมินความรู้สึกตัว ABCs
กรณีระบบหายใจและระบบไหลเวียนไม่ทำงาน => CPR
ให้ O2, Isotonic IV
NPO
ส่งต่อ
8 >> จมน้ำ (Drowning/ Near drowning เสียชีวิตภายหลัง ภายใน 20hr)
อาการ
:checkered_flag: จมน้ำหมดสติ ชักเกร็ง ระบบไหลเวียนและระบบหายใจหยุดทำงาน อาจได้รับบาดเจ็บอื่นร่วมด้วย เช่น กะโหลกศีรษะแตก คอหัก มีบาดแผลตามร่างกาย หัวใจเต้นผิดจังหวะ BP drop ช็อค มีการสูดสำลัก
การพยาบาล
ประเมินความรู้สึกตัว ABCs
:no_entry: ตรวจดูสิ่งแปลกปลอมที่อุดกั้นทางเดินหายใจ
กรณีระบบหายใจและระบบไหลเวียนไม่ทำงาน => CPR
ให้ O2, ให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย
ให้ IV
:check: กรณีจมน้ำจืดให้ isotonic solution
:check: กรณีจมน้ำเค็มให้ hypotonic solution
ดูแลบาดแผลและอาการบาดเจ็บร่วม
ส่งต่อ
9 >> ตกเลือดรุนแรง (Massive blood loss)
ภาวะที่ร่างกายเสียเลือด >/= 40% ของปริมาณเลือดในร่างกาย
ทำให้ BP ลดลง hypovolumic shock
อาการ
:warning: กระสับกระส่าย เหงื่อออก ตัวเย็น ซึม หน้ามืด หมดสติ วิงเวียน ชัก BP ลดลง ปัสสาวะไม่ออก ได้รับบาดเจ็บ มีบาดแผลตามร่างกาย
การพยาบาล
ประเมินสภาพผู้ป่วย ความรู้สึกตัว ระบบหายใจและระบบไหลเวียนโลหิต
ให้ O2, ให้ IV
Retain foley cath
ส่งต่อ
10 >> ไฟฟ้าซ็อต (Electrical injury)
อาการ
:check: ไม่รู้สึกตัว ความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง ระบบไหลเวียนโลหิตผิดปกติ หัวใจเต้นผิดปกติ มีบาดแผลไหม้โดยเฉพาะบริเวณทางเข้าและทางออกของกระแสไฟฟ้า มีกระดูกหัก/ข้อเคลื่อน กระดูกสันหลังหัก ไตวายเฉียบพลัน
การพยาบาล
ประเมินความรู้สึกตัว ABCs
กรณีระบบหายใจและระบบไหลเวียนไม่ทำงาน => CPR
ให้ O2, ให้ความอบอุ่นแก่ร่างกายม ให้ IV
ดูแลบาดแผลและอาการบาดเจ็บร่วม
ส่งต่อ
11 >> ฟ้าผ่า (Lightning injury)
:warning:
อาการ เกิดอันตรายต่อร่างกายได้หลายระบบ
Nervous system => หากรุนแรง เสียชีวิตจากระบบการหายใจล้มเหลว
Hearing system => เยื่อแก้หูแตก/ฉีกขาด
Skin => เกิดแผลไหม้
Heart => หัวใจได้รับบาดเจ็บและหยุดทำงาน
Vascular system => ทำให้เกิดการจับตัวเป็นก้อนของเลือดในเส้นเลือด
การพยาบาล
ประเมินความรู้สึกตัว ABCs
กรณีระบบหายใจและระบบไหลเวียนไม่ทำงาน => CPR
ให้ O2, ให้ IV
ดูแลบาดแผลและอาการบาดเจ็บร่วม
ส่งต่อ
12 >> ตกจากที่สูง (Falling)
อาการ
:check: ความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง การบาดเจ็บของศีรษะ กระดูกสันหลัง กระดูกแขนขา การบาดเจ็บของทรวงอกและอวัยวะภายใน มีบาดแผลตามร่างกาย เลือดออกมาก BP ลดลง
การพยาบาล
ประเมินความรู้สึกตัว ABCs
กรณีระบบหายใจและระบบไหลเวียนไม่ทำงาน => CPR
ประเมินการบาดเจ็บและความรุนแรง และรักษาการบาดเจ็บเฉพาะแห่ง
NPO
ส่งต่อ
13 >> กระดูกหัก (Fracture)
แบ่งเป็น
การหักที่ไม่สมบูรณ์ (Incomplete fracture) => เป็นรอยร้าว
การหักที่สมบูรณ์ (Complete fracture)
Closed fracture
Opened fracture
อาการ
:warning: กระดูกหักชนิดมีแผลเปิด แผลสกปรก กระดูกหักที่มีการเสียเลือดมาก กระดูกหักที่มีการทำลายเส้นเลือด/เส้นประสาทกล้ามเนื้อ มีการบาดเจ็บลดลง บวมผิดรูป หมดสติจากเสียเลือดมาก
การพยาบาล
ประเมินความรู้สึกตัว ABCs
ให้ O2, ให้ IV
ประเมินตำแหน่งที่มีการบาดเจ็บ ห้ามเลือดถ้ามีเลือดออก ล้างแผลให้สะอาด
:forbidden: 24hr แรก
ประคบเย็นเพื่อลดบวม ลดปวด ให้ยาแก้ปวด จัดท่าให้เหมาะสม
:forbidden: 24hr หลัง
ประคบร้อน
NPO กรณีที่มีแผลเปิด
ส่งต่อ
14 >> ฉุกเฉินทางตา (Eye emergency)
การพยาบาลจากอุบัติเหตุ ถูกทำร้าย
เปลือกตาฉีก :checkered_flag: ทำแผล ส่งต่อ
ตาบวม เขียวช้ำ มีเลือดออก :checkered_flag: ประคบเย็น ส่งต่อ
มีเลือดออกในตา ตามัว ตาแดง ปวดตา ใช้ไฟฉายส่งพบเลือดในตาดำ :checkered_flag: Absolute bed rest, ศีรษะสูง 30-40 องศา, ปิดตาทั้ง 2 ข้าง, ให้ยาแก้ปวด, ส่งต่อ
การพยาบาลสิ่งแปลกปลอมหรือสารเคมีเข้าตา
โลหะติดแน่น เคืองตา ปวดตา น้ำตาไหล
:black_flag: หยอดยาชา (ถ้าทำได้), ให้ยาแก้ปวด ส่งต่อทันที
มองเห็นสิ่งแปลกปลอมชัดเจนและระคายเคืองตา
:black_flag: ล้างตา/เขี่ยออก, ป้ายยา, นัด F/U 24hr หากพบบาดแผลบนแก้วตาให้ส่งต่อ
สารเคมี แสบตา ปวดตามาก
:black_flag: ล้างตาด้วย NSS นาน 1/2hr อย่างน้อย 2 ลิตรต่อครั้ง ส่งต่อ
เลือดออกใต้ตาขาว
:warning: อาการหายเองใน 2 wks ถ้ามีอาการตามัวร่วมด้วย ส่งต่อ
ตาแดงรอบๆกระจกตา ปวดศีรษะ ปวดกระบอกตามาก ตามองไม่ชัด
:black_flag: ปิดตา ส่งต่อทันที
เยื่อบุตาฉีกขาด ตามองเห็นชัด แก้ตาปกติ
:black_flag: หยอดตาด้วย ATB/ ป้ายยา ATB ส่งต่อ
แก้วตาอักเสบจากแสงยูวี
:black_flag: หยอดยาชา + ป้ายตาด้วย eye ointment + ปิดตา + ส่งต่อ
แก้วตาทะลุ มีเนื้อเยื่อในช่องลูกตาหลุดออกมา
:red_cross: ห้ามหยอดตา ห้ามป้ายยา ห้ามปิดตา NPO ใช้ที่ครอบตา/แว่นยา + ให้ TT + ส่งต่อ
15 >> ภาวะฉุกเฉินทางหู (Ear emergency)
การพยาบาล
แผลฉีกขาดที่ใบหู :silhouette: ทำแผล + ให้ยาแก้ปวด + ส่งต่อเย็บแผล
มีเลือด/ CSF ไหลออกจากหู :silhouette: Absolute bed rest + ส่งต่อ
สิ่งแปลกปลอมเข้าหู
วัตถุต่างๆเข้าหู ปวดหูมาก
:silhouette: (ตื้น => คีบออก ไม่เห็น => ส่งต่อ)
น้ำเข้าหู หูอื้อทันที
:silhouette: ใช้น้ำหยอด ตะแคงหน้าเทออก + เช็ดช่องหูให้แห้ง
แมลงเข้าหู
:silhouette: ส่องไฟถ้ายังมีชีวิต หยอดน้ำมัน (กรณีมองไม่เห็นและเยื่อแก้วหูไม่ทะลุ)
เยื่อแก้วหูฉีกขาดจากการแคะหู หูอื้อ ปวดหู
:silhouette: ห้ามหยอดำ/แคะ/ล้างหู + ให้ยาแก้ปวด + F/U ต่อเนื่อง (ปกติหูจะติดกันเอง 3-7 วัน)
หูอื้อ ปวดหูจากความดันบรรยากาศเปลี่ยน
:silhouette: แนะนำกลืนน้ำ กลืนน้ำลาย + ให้ยาแก้ปวดและยา decongestant (pseudoephedrine) ถ้าไม่ดีขึ้น ส่งต่อ