Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๔๕ - Coggle Diagram
พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๔๕
หมวด๑ สิทธิการรับบริการสาธารณสุข
มาตรา๘ผู้ซึ่งมีสิทธิตามมาตรา๕ที่ยังไม่ได้ลงทะเบียนตามมาตรา๖อาจเข้ารับบริการครั้งแรกที่หน่วยบริการใดก็ได้
มาตรา๙ ขอบเขตของสิทธิรับบริการสาธารณสุขของบุคคล
มาตรา๗บุคคลที่ได้ลงทะเบียนแล้วให้ใช้สิทธิรับบริการสาธารณสุขได้จากหน่วยบริการประจําของตนหรือหน่วยบริการปฐมภูมิในเครือข่ายหน่วยบริการที่เกี่ยวข้อง
มาตรา๑๐ ขอบเขตของสิทธิรับบริการสาธารณสุขของผู้มีสิทธิตามกฎหมายว่าด้วยประกันสังคมให้เป็นไปตามที่กําหนดในกฎหมายว่าด้วยประกันสังคม
มาตรา๖บุคคลใดประสงค์จะใช้สิทธิตามมาตรา๕ให้ยื่นคําขอลงทะเบียนต่อสํานักงานหรือหน่วยงานที่สํานักงานกําหนดเพื่อเลือกหน่วยบริการเป็นหน่วยบริการประจํา
มาตรา๑๑ในกรณีที่ลูกจ้างซึ่งมีสิทธิได้รับการรักษาพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยเงินทดแทนผู้ใดใช้สิทธิรับบริการสาธารณสุขจากหน่วยบริการตามพระราชบัญญัตินี้เมื่อใดแล้วให้หน่วยบริการแจ้งการเข้ารับบริการนั้นต่อสํานักงานและให้สํานักงานมีสิทธิเรียกเก็บค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขจากกองทุนเงินทดแทนแต่ไม่เกินอัตราที่กําหนดตามกฎหมายว่าด้วยเงินทดแทนส่งเข้ากองทุนเพื่อส่งต่อให้หน่วยบริการต่อไป
มาตรา๕บุคคลทุกคนมีสิทธิได้รับบริการสาธารณสุขที่มีมาตรฐานและมีประสิทธิภาพตามที่กําหนด
มาตรา๑๒ในกรณีที่ผู้ประสบภัยจากรถตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถผู้ใดใช้สิทธิรับบริการสาธารณสุขจากหน่วยบริการตามพระราชบัญญัติ
หมวด๒ คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา๑๘ คณะกรรมการมีอํานาจหน้าที่
มาตรา๑๙ให้คณะกรรมการมีอํานาจหน้าที่ควบคุมดูแลสํานักงานให้ดําเนินกิจการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่กําหนดไว้
มาตรา๑๗การประชุมคณะกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมด
มาตรา๒๐คณะกรรมการมีอํานาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อให้ปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัติ
มาตรา๑๖นอกจากการพ้นตําแหน่งตามวาระตามมาตรา๑๕วรรคหนึ่งแล้วกรรมการตามมาตรา๑๓วรรคหนึ่ง (๓) (๔) (๕) และ (๖) พ้นจากตําแหน่ง
มาตรา๒๑ให้คณะกรรมการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการตรวจสอบขึ้นคณะหนึ่งมีอํานาจหน้าที่ตรวจสอบการบริหารเงินและการดําเนินงานของสํานักงาน
มาตรา๑๕กรรมการตามมาตรา๑๓วรรคหนึ่ง (๓) (๔) (๕) และ (๖) มีวาระอยู่ในตําแหน่งคราวละสี่ปีและอาจได้รับเลือกหรือแต่งตั้งใหม่อีกได้แต่จะดํารงตําแหน่งเกินกว่าสองวาระติดต่อกันไม่ได้
มาตรา๒๒ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ให้คณะกรรมการหรือคณะอนุกรรมการแล้วแต่กรณีมีอํานาจขอให้หน่วยงานของรัฐหรือสั่งให้บุคคลใดที่เกี่ยวข้องมีหนังสือชี้แจงข้อเท็จจริงมาให้ถ้อยคําหรือส่งเอกสารหลักฐานเพื่อประกอบการพิจารณาใด
มาตรา๑๔กรรมการตามมาตรา๑๓จะดํารงตําแหน่งกรรมการตามมาตรา๔๘ในขณะเดียวกันมิได้
มาตรา๒๓ให้กรรมการและอนุกรรมการได้รับเบี้ยประชุมค่าใช้จ่ายในการเดินทางและค่าใช้จ่ายอื่นในการปฏิบัติหน้าที่ตามที่รัฐมนตรีกําหนด
มาตรา๑๓ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า “คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ”
หมวด๓ สํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา๒๙ให้คณะกรรมการเสนอขอรับงบประมาณรายจ่ายประจําปีต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการบริหารงานของสํานักงาน
มาตรา๓๐การเก็บรักษาและการใช้จ่ายเงินของสํานักงานให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการกําหนด
มาตรา๒๘บรรดาอสังหาริมทรัพย์ที่สํานักงานได้มาโดยมีผู้บริจาคให้หรือได้มาโดยการซื้อหรือแลกเปลี่ยนจากรายได้ของสํานักงานให้เป็นกรรมสิทธิ์ของสํานักงาน
มาตรา๒๗ทรัพย์สินของสํานักงานไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดี
มาตรา๓๑ให้สํานักงานมีเลขาธิการเป็นผู้รับผิดชอบการบริหารกิจการของสํานักงานให้เป็นไปตามกฎหมายระเบียบข้อบังคับข้อกําหนดนโยบายมติและประกาศของคณะกรรมการและเป็นผู้บังคับบัญชาเจ้าหน้าที่และลูกจ้างของสํานักงานทุกตําแหน่ง
มาตรา๒๖ให้สํานักงานมีอํานาจหน้าที่
มาตรา๓๒เลขาธิการต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม
มาตรา๒๕ให้สํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติตั้งอยู่ที่กรุงเทพมหานครหรือในเขตจังหวัดใกล้เคียง
มาตรา๓๓เลขาธิการพ้นจากตําแหน่ง
มาตรา๒๔ให้มีสํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเป็นหน่วยงานของรัฐมีฐานะเป็นนิติบุคคลอยู่ภายใต้การกํากับดูแลของรัฐมนตรี
มาตรา๓๔ให้เลขาธิการมีวาระอยู่ในตําแหน่งคราวละสี่ปีและอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้แต่จะดํารงตําแหน่งเกินสองวาระติดต่อกันไม่ได้
มาตรา๓๕ให้เลขาธิการเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งเป็นผู้ดํารงตําแหน่งระดับสูงและให้ถือเป็นผู้ดํารงตําแหน่งซึ่งต้องห้ามมิให้ดําเนินกิจการที่เป็นการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนบุคคลและประโยชน์ส่วนรวมตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตด้วย
มาตรา๓๖เลขาธิการมีอํานาจหน้าท
มาตรา๓๗ให้มีสํานักตรวจสอบขึ้นในสํานักงานทําหน้าที่เป็นสํานักงานเลขานุการของคณะอนุกรรมการตรวจสอบและให้รับผิดชอบขึ้นตรงต่อคณะอนุกรรมการตรวจสอบและรายงานเลขาธิการตามระเบียบที่คณะกรรมการกําหนด
หมวด๔ กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา๔๐การรับเงินการจ่ายเงินและการเก็บรักษาเงินกองทุนรวมทั้งการนําเงินกองทุนไปจัดหาผลประโยชน์ให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการกําหนด
มาตรา๔๑ให้คณะกรรมการกันเงินจํานวนไม่เกินร้อยละหนึ่งของเงินที่จะจ่ายให้หน่วยบริการไว้เป็นเงินช่วยเหลือเบื้องต้นให้แก่ผู้รับบริการ
มาตรา๓๙กองทุน
มาตรา๔๒ในกรณีที่ผู้รับบริการได้รับความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการรักษาพยาบาลของหน่วยบริการโดยหาผู้กระทําผิดได้แต่ยังไม่ได้รับค่าเสียหายภายในระยะเวลาอันสมควรตามมาตรา๔๑
มาตรา๓๘ให้จัดตั้งกองทุนขึ้นกองทุนหนึ่งในสํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเรียกว่า “กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ”
มาตรา๔๓ ภายในสามเดือนนับแต่วันสิ้นปีงบประมาณตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณให้คณะกรรมการเสนองบดุลและรายงานการรับจ่ายเงินของกองทุนในปีที่ล่วงมา
หมวด๕หน่วยบริการและมาตรฐานบริการสาธารณสุข
มาตรา๔๕ให้หน่วยบริการมีหน้าที่
มาตรา๔๖หน่วยบริการและเครือข่ายหน่วยบริการตามมาตรา๔๔และหน่วยบริการที่รับการส่งต่อผู้รับบริการมีสิทธิได้รับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขจากกองทุนตามหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่คณะกรรมการกําหนด
มาตรา๔๔ให้สํานักงานจัดให้มีการขึ้นทะเบียนหน่วยบริการและเครือข่ายหน่วยบริการแล้วประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทราบ
มาตรา๔๗เพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้กับบุคคลในพื้นที่โดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมตามความพร้อมความเหมาะสมและความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น
หมวด๖ คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุข
มาตรา๕๐คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานมีอํานาจหน้าที่
มาตรา๕๑คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานมีอํานาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาหรือปฏิบัติตามที่คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานมอบหมายได้
มาตรา๔๙การดํารงตําแหน่งวาระการดํารงตําแหน่งการพ้นจากตําแหน่งและการประชุมของคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานให้นํามาตรา๑๔มาตรา๑๕มาตรา๑๖และมาตรา๑๗มาใช้บังคับโดยอนุโลม
มาตรา๕๒ให้คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานและคณะอนุกรรมการมีอํานาจขอให้หน่วยงานของรัฐหรือสั่งให้บุคคลใดที่เกี่ยวข้องมีหนังสือชี้แจงข้อเท็จจริงมาให้ถ้อยคําหรือส่งเอกสารหลักฐานเพื่อประกอบการพิจารณาได้
มาตรา๔๘ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า “คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุข”
มาตรา๕๓ให้กรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานและอนุกรรมการได้รับค่าเบี้ยประชุมค่าใช้จ่ายในการเดินทางและค่าใช้จ่ายอื่นในการปฏิบัติหน้าที่ตามที่รัฐมนตรีกําหนด
หมวด๗ พนักงานเจ้าหน้าที่
มาตรา๕๕ในการปฏิบัติหน้าที่พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องแสดงบัตรประจําตัวแก่บุคคลซึ่งเกี่ยวข้อง
มาตรา๕๖ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ให้พนักงานเจ้าหน้าที่เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา๕๔ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอํานาจเข้าไปในสถานที่ของหน่วยบริการหรือของเครือข่ายหน่วยบริการในระหว่างเวลาทําการ
หมวด๘ การกํากับมาตรฐานหน่วยบริการ
มาตรา๕๙ในกรณีที่ผู้รับบริการผู้ใดไม่ได้รับความสะดวกตามสมควรหรือตามสิทธิที่จะได้รับบริการสาธารณสุขที่กําหนดตามพระราชบัญญัตินี้จากหน่วยบริการหรือหน่วยบริการเรียกเก็บค่าบริการจากตนโดยไม่มีสิทธิที่จะเก็บหรือเรียกเก็บเกินกว่าอัตราที่คณะกรรมการกําหนด
มาตรา๖๐ในกรณีที่การกระทําผิดของหน่วยบริการตามมาตรา๕๘หรือมาตรา๕๙เป็นการกระทําผิดร้ายแรงหรือเกิดซ้ําหลายครั้งให้เลขาธิการรายงานต่อคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานเพื่อพิจารณาดําเนินการ
มาตรา๕๘ในกรณีที่ผลการสอบสวนตามมาตรา๕๗ปรากฏว่าหน่วยบริการใดไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานที่กําหนดให้คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานดําเนินการ
มาตรา๖๑ผู้ร้องเรียนหรือหน่วยบริการที่ได้รับคําสั่งจากคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานตามหมวดนี้ให้มีสิทธิอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งหรือวันที่ได้รับทราบคําสั่งแล้วแต่กรณี
มาตรา๕๗ ในกรณีที่สํานักงานตรวจสอบพบว่าหน่วยบริการใดไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานการให้บริการสาธารณสุขที่กําหนดให้รายงานต่อคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานเพื่อแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนพิจารณา
มาตรา๖๒เมื่อคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์คําสั่งตามมาตรา๖๑ผลเป็นประการใดแล้วให้เลขาธิการรายงานผลการดําเนินการหรือคําวินิจฉัยต่อคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานเพื่อทราบ
หมวด๙ บทกําหนดโทษ
มาตรา๖๓ผู้ใดฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามคําสั่งของคณะกรรมการคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานคณะอนุกรรมการของคณะกรรมการดังกล่าวคณะกรรมการสอบสวนหรือพนักงานเจ้าหน้าที่ตามมาตรา๒๒มาตรา๕๒มาตรา๕๔หรือมาตรา๕๗ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา๖๔ผู้ใดขัดขวางหรือไม่อํานวยความสะดวกตามสมควรแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรา๕๕วรรคสามต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ