Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัญหาสุขภาพในระบบทางเดินปัสสาวะและระบบสืบพันธุ์ - Coggle Diagram
ปัญหาสุขภาพในระบบทางเดินปัสสาวะและระบบสืบพันธุ์
อาการสําคัญ (Chief complaint : CC)
ปัสสาวะน้อยหรือไม่ออก
ปัสสาวะเป็นเลือด
อาการปัสสาวะบ่อย
ปวดสีข้าง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การส่งตรวจเลือด เพื่อตรวจหาความผิดปกติหรือการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะหรือความ
ผิดปกติของเกลือแร่ เช่น Blood urea nitrogen (BUN),Creatinine (Cr), Complete Blood Count
(CBC), Calcium และ Phosphate เป็นต้น
การตรวจพิเศษ เช่น Ultrasound, renal scan, Intravenous pyelogram (IVP), Plain KUB
cystoscope และ CT เป็นต้น
การส่งตรวจปัสสาวะเพื่อตรวจดูลักษณะและส่วนประกอบของน้ําปัสสาวะ เช่น Urinalysis
(U/A) และ Urine culture (U/C) เป็นต้น
การวินิจฉัยแยกโรคกลุ่มอาการระบบทางเดินปัสสาวะ
ปัสสาวะเป็นเลือด
หน่วยไตอักเสบเฉียบพลัน (Acute glomerulonephritis/AGN)
บวม (edema)
โรคไตเนโฟรติก (Nephrotic syndrome)
ภาวะไตวาย (Renal Failure)
2.2 ไตวายเรื้อรัง (Chronic Renal Failure) หรือโรคไตเรื้อรัง (Chronic Kidney Disease:CKD)
2.1 ไตวายเฉียบพลัน (Acute Renal Failure) หรือไตเสียหายเฉียบพลัน (Acute kidneyinjury: AKI)
ปัสสาวะน้อยหรือไม่ออก
ปัสสาวะไม่ออก (Acute Urinary Retention: AUR)
ปวดสีข้าง ปวดหลังบริเวณเอว
นิ่วท่อไต (Ureteric stone/Ureteral stone)
นิ่วในกระเพาะปัสสาวะ (Vesical calculus/Bladder stone)
นิ่วในไต (Renal calculus/Kidney stone)
ปัสสาวะผิดปกติ (Abnormal urination)/ปัสสาวะลําบาก (Dysuria)
1.1 ปัสสาวะบ่อย (Frequent urination)
1.2 กลั้นปัสสาวะไม่ได้ (Urinary incontinence)
1.3 ปัสสาวะลําบาก (Dysuria, Painful urination)
ปัญหาสุขภาพในระบบสืบพันธุ์
ปัญหาสุขภาพในระบบสืบพันธุ์
การซักประวัติเมื่อมีอาการผิดปกติทางระบบสืบพันธุ์
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
ประวัติครอบครัว
ประวัติการมีประจําเดือน
แบบแผนการดําเนินชีวิตและสุขภาพ
อาการปัจจุบัน
การวินิจฉัยแยกโรคกลุ่มอาการระบบสืบพันธุ์
ภาวะเลือดออกผิดปกติทางช่องคลอด
การซักประวัติ
ประวัติเกี่ยวกับการตั้งครรภ์ และการคลอด
ประวัติการตรวจภายในและเช็คมะเร็งปากมดลูก
ประวัติการมีเพศสัมพันธ์และการคุมกําเนิด
ประวัติส่วนตัว ประวัติครอบครัว ประวัติโรคประจําตัวโดยเฉพาะโรคเลือด
ประวัติเกี่ยวกับประจําเดือน
ประวัติการได้รับฮอร์โมนเช่น เอสโตรเจน โปรเจสเตอโรน
อาการอื่นที่เกิดร่วมด้วย เช่น ปวดท้อง ไข้ ตกขาวผิดปกติ เป็นต้น
ประวัติการเปลี่ยนแปลงน้ําหนัก พฤติกรรมการรับประทาน การออกกําลังกาย ความเครียด
รูปแบบของการมีเลือดออก การเริ่มต้น ปริมาณ ระยะเวลา ปัจจัยกระตุ้น เช่น หลังมีเพศ
สัมพันธ์
Pelvic pain and Dysmenorrhea
การปวดเฉียบพลัน (Acute pelvic pain)
การปวดเรื้อรัง (chronic pelvic pain)
การวินิจฉัยแยกโรคที่มาด้วย Acute pelvic pain
การบิดขั้วของปีกมดลูก
ปีกมดลูกอักเสบ (Salpingitis) และ Tobo-ovarian abscess
การแตกของถุงน้ํา (cyst)
Myoma
การตั้งครรภ์ผิดปกติเช่น
Endometriosis
อาการปวดที่เกิดจากทางเดินอาหาร
Intestinal obstruction
Appendicitis
อาการปวดที่เกิดจากทางเดินปัสสาวะ
อาการปวดประจําเดือน (dysmenorrhea)
Primary dysmenorrhea
Secondary dysmenorrhea
ตกขาว (Leukorrhea)
1.1 ตกขาวปกติ(Physiologic leukorrhea)
1.2 ตกขาวผิดปกติ(Pathological leukorrhea)
ช่องคลอดอักเสบจากสาเหตุที่ไม่ติดเชื้อ
ปากมดลูกอักเสบ
ช่องคลอดอักเสบติดเชื้อ
พยาธิสภาพอื่นๆ
ภาวะรูรั่ว (Fistula)
สาเหตุหลัก
Trichomoniasis vaginalis (TV)
Vulvovaginal candidiasis (VVC)
Bacterial vaginosis (BV)
การวินิจฉัยแยกโรคที่มาด้วย Chronic pelvic pain
โรคหนองใน (Gonorrhea)
หน อ งใ น เ ทีย ม ( Non-specific Urethritis: NSU / Non-Gonococcal Urethritis:
NGU)
ดียูบี (Dysfunction Uterine Bleeding/DUB)
ซิฟิลิส (Syphilis)
ต่อมลูกหมากโต (Benign Prostatic Hyperplasia: BPH)
ท้องนอกมดลูก (Ectopic Pregnancy)