Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 ความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายและการประกอบวิชาชีพพยาบาล - Coggle…
บทที่ 6
ความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายและการประกอบวิชาชีพพยาบาล
พฤติกรรมของพยาบาลที่มีความเสี่ยงต่อการกระทาผิดกฎหมาย
พฤติกรรมส่วนตัว
พฤติกรรมบริการ
พฤติกรรมทางวิชาชีพ
พฤติกรรมทางสังคม
วิธีปฏิบัติตัวเมื่อพยาบาลทาผิดกฎหมาย
การมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี ต่อผู้ป่วยและญาติ มีความเห็นอกเห็นใจและเห็นคุณค่าศักดิ์ศรีความเป็น มนุษย์ อย่าเอาแต่ใจตนเอง
การให้ความรู้และข้อมูลที่เป็นจริงในการรักษาพยาบาลที่เกิดขึ้น รวมทั้งข้อจากัดในการรักษาและ การพยาบาลโดยยึดถือคาประกาศสิทธิผู้ป่วยและกฎระเบียบของโรงพยาบาล
การให้ความช่วยเหลือแก่ผู้เสียหายมากที่สุดเท่าที่จะทาได้ โดยพิจารณาตามความจาเป็นและ ความพร้อมของหน่วยงาน
การจัดเตรียมบันทึกและเอกสารสาคัญที่เกี่ยวข้องให้มีความสมบูรณ์ครบถ้วน เพื่อใช้เป็นหลักฐาน ในการต่อสู้คดีทุกชนิด
การศึกษากฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการร้องเรียนหรือการฟ้องร้องในคดีต่างๆ ที่มีความเกี่ยวพันกัน เช่น กฎหมายที่เกี่ยวข้องคดีจริยธรรมและโทษทางการประกอบวิชาชีพ กฎหมายแพ่งโทษทางละเมิด กฎหมาย
การสังเกตสัญญาณอันตรายต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้น เช่น ผู้ป่วยอาการทรุดลงหรืออาจนาไปสู่การ เสียชีวิต ความวิตกกังวลที่อาจนาไปสู่ความไม่พอใจที่รุนแรงและการฟ้องร้องดาเนินคดีที่ไม่อาจสร้างความเข้าใจที่ดี ต่อกันได้
เตรียมตัวต่อสู้คดี เตรียมทนายความและเตรียมเงินค่าใช้จ่าย ซึ่งอาจมีการเจรจายอมความ เจรจา รอมชอมโดยคนกลาง หรือด้วยวิธีการอื่นๆ ซึ่งล้วนต้องใช้เงินจานวนมากทั้งนั้น
วิธีปฏิบัติตัวของพยาบาลเมื่อต้องขึ้นศาลในฐานะจาเลย
การเจรจาและการต่อสู้คดีของพยาบาล กรณีการฟ้องคดีแพ่ง : ความรับผิดในทางแพ่ง (มาตรา 420) การฟ้องคดีอาญา: ความรับผิดในทางอาญา (มาตรา 59) การต่อสู้คด
การเตรียมแฟ้มเอกสารทุกประเภทที่เกี่ยวข้องกับคดีและมาตรฐานการรักษาพยาบาลเพื่อ ประกอบคาชี้แจงให้ศาลเข้าใจตามคดีที่เกิดขึ้น
การให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ป่วยให้มากที่สุดเท่าที่จะทาได้
การให้ปากคาแก่ศาลอย่างตรงไปตรงมาและกระชับตรงประเด็น
แต่หากพยาบาลถูกกันตัวให้เป็นพยานในศาลหรือในคดีที่พยาบาลมีส่วนเกี่ยวข้องโดยเฉพาะในหน้าที่การ งานที่ต้องรับผิดชอบ พยาบาลควรเตรียมตัวดังนี้
วิธีปฏิบัติตัวของพยาบาลเมื่อต้องขึ้นศาลในฐานะพยานบุคคล
การรับหมายศาลที่โจทก์หรือจาเลยก็ตามที่อ้างให้พยาบาลเป็นพยานในคดี ถือเป็นความ รับผิดชอบที่พยาบาลจะต้องให้ความร่วมมืออย่างเคร่งครัด โดยให้ถือว่าเป็นการไปปฏิบัติงานตามหน้าที่ไม่ต้องลา งาน แต่ต้องแจ้งหัวหน้างานรับทราบเพื่อจัดผู้ปฏิบัติงานแทน
การสาบานตนตามความเชื่อในศาสนาหรือหลักการที่ตนยึดถือต่อหน้าศาลก่อนที่จะเริ่มให้ปากคา
การให้ปากคาตามคาซักถามของทนายและตามคาอนุญาตของศาล พยาบาลจะต้องเรียบเรียง เหตุการณ์และถ้อยคาที่สั้นกระชับ พูดให้เสียงดังชัดเจนและไม่ควรกลัว
การให้ความเคารพแก่ศาลอย่างเหมาะสม เมื่อไปศาลพยาบาลต้องแต่งกายสุภาพเรียบร้อย ตั้งแต่ ศีรษะจรดเท้า ระวังกิริยามารยาท และทาความเคารพแก่ศาลเช่นเดียวกับผู้อื่น
ห้ามนาหมายศาลไปเผยแพร่ไม่ว่าด้วยวิธีการใดๆ เช่น ในสังคมออนไลน์หรือช่องทางอื่นใด โดย ศาลจะถือว่าเป็นการไม่ให้ความเคารพแก่ศาลด้วย
การป้องกันการเกิดปัญหาทางกฎหมาย
การให้ข้อมูลแก่ผู้ป่วยและญาติ ต้องเป็นจริงไม่ลาเอียงด้านใดด้านหนึ่ง และเป็นเฉพาะข้อมูลที่ สาคัญเกี่ยวข้องโดยตรงเท่านั้น และให้ข้อมูลโดยเคารพในความสูญเสียของผู้ป่วยและครอบครัวเป็นสาคัญ
การไม่ประมาทและทาตามมาตรฐานวิชาชีพ การปฏิบัติการพยาบาลต่อผู้ป่วยต้องใช้ความเอาใจ ใส่และความรับผิดชอบตลอดเวลา ความบกพร่องของงานจะเกิดขึ้นได้ยาก
มีคุณธรรมและจริยธรรม ซึ่งถือได้ว่าเป็นแกนกลางที่สาคัญในการประกอบวิชาชีพ หากยังเกิด ข้อผิดพลาดขึ้นได้อีก สิ่งเหล่านั้นอาจเกิดขึ้นด้วยความไม่เจตนาที่จะละเลยคุณธรรม
การรายงานข้อมูลที่สาคัญแก่แพทย์ ทั้งที่เกี่ยวกับอาการของผู้ป่วยและข้อมูลอื่นๆ ความรอบคอบ ในการรายงานแพทย์เป็นสิ่งสาคัญที่จะป้องกันความผิดพลาดที่อาจจะเกิดแก่ผู้ป่วย
สร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ป่วยและญาติ รวมทั้งผู้ร่วมงานทุกคนที่เกี่ยวข้อง เมื่อเกิดปัญหาทุกคน จะได้ร่วมมือกันหาทางแก้ไขให้เกิดผลดีที่สุดแก่ผู้ป่วย
การทางานเกินขอบเขตของพยาบาลเป็นสิ่งที่อาจก่ออันตรายแก่ผู้ป่วย ดังนั้นจึงต้องเข้าใจ ความสามารถและหน้าที่ความรับผิดชอบของตนเอง รวมทั้งความรับผิดชอบของแพทย์ด้วย โดยยึดความปลอดภัย ของผู้ป่วยเป็นหลัก
ใช้ความรู้และทักษะในการทางานเมื่อสามารถพิสูจน์ได้ หากเกิดความผิดพลาดก็อาจเนื่องด้วย เหตุสุดวิสัย ซึ่งพอจะหาทางแก้ปัญหาได้ง่ายขึ้น
ตัวอย่างการวิเคราะห์คดีที่พยาบาลประกอบวิชาชีพโดยผิดกฎหมาย
ชื่อคดี “ศาลให้พยาบาลและแพทย์ร่วมกันชดใช้สามล้านเศษแก่ผู้ป่วยที่คลอดลูกตาย” แหล่งข่าว หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ ฉบับที่ ๑๗๓๙๖ วันพุธที่ ๗ กันยายน ๒๕๔๘
เนื้อหาคดี เหตุเกิดเมื่อวันที่ ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๔๖ เวลา ๒๑.๔๕ น. โจทก์พาภรรยาที่ตั้งครรภ์ แปดเดือนมาคลอดบุตรที่โรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่ง พยาบาลห้องคลอดตรวจพบว่า ผู้ป่วยความดันสูง ๑๘๐/ ๑๐๐ มม.ปรอท จึงรายงานแพทย์เวรทราบแต่ไม่มีคาสั่งการรักษา เวลา ๒๒.๓๐ น. ผู้ป่วยปวดศีรษะมากตาพร่ามัว และหายใจขัด จึงตามแพทย์เวรอีกครั้งหนึ่งแพทย์ก็ยังไม่มาดูอาการ จนกระทั่งเวลา ๒๓.๔๕ น. ผู้ป่วยหยุดหายใจ
สาเหตุการเกิดคดี จากการขาดความเอาใจใส่ในการดูแลผู้ป่วยอย่างจริงจัง ปล่อยให้เวลาล่วงเลย ไปเรื่อยๆ โดยมิได้ให้การรักษาผู้ป่วยแต่อย่างใด ทั้งๆ ที่ทราบดีว่าอาการผู้ป่วยอยู่ในภาวะวิกฤติ การรายงานแพทย์ ต้องมีความรีบด่วนหากแพทย์เวรไม่มาต้องตามแพทย์คนต่อไปโดยด่วนเพื่อให้การช่วยเหลือเบื้องต้น จึงเป็นความ ประมาทร่วมกันทั้งแพทย์เวรและพยาบาลห้องคลอด
ข้อเสนอแนะเพื่อมิให้เกิดคดีเข่นนี้อีก การช่วยชีวิตผู้ป่วยสาคัญที่สุด พยาบาลห้องคลอดที่รับ ผู้ป่วยใหม่ต้องมีความรอบคอบในการตรวจอาการ เมื่อพบผู้ป่วยมีภาวะวิกฤติต้องจัดคนดูแลใกล้ชิด ตามแพทย์ ทันทีหากมาไม่ได้ต้องตามแพทย์คนต่อไปให้รีบช่วยเหลือ และรายงานผู้อานวยการโดยด่วนหากพบปัญหา
สิ่งที่ได้เรียนรู้จากคดีนี้
5.1 ความรับผิดชอบในการประสานงานระหว่างแพทย์และพยาบาลในการดูแลรักษาผู้ป่วย มี
ผลอย่างมากต่อชีวิตและความปลอดภัยของผู้ป่วย
5.2 การตรวจประเมินอาการของผู้ป่วยโดยพยาบาลมีความสาคัญอย่างมาก พยาบาลจึงต้อง
มีความรอบคอบและรายงานข้อเท็จจริงให้แพทย์เข้าใจชัดเจนทันที
5.3 ผู้ป่วยที่มีอาการในภาวะวิกฤติอาการจะเปลี่ยนแปลงเร็วมาก จนกระทั่งไม่สามารถ
ช่วยเหลือได้ทันท่วงที
5.4 เมื่อเกิดการตายของผู้ป่วยทาให้ญาติไม่ยอมความง่ายๆ แต่จะมีการฟ้องร้องดาเนินคดีแก่
แพทย์และพยาบาลอย่างแน่นอน
5.5 ประชาชนจะเข้าใจเรื่องราวที่เกิดขึ้นได้ชัดเจนเพราะมีคดีเกิดขึ้นตลอดเวลาการฟ้องร้อง
จึงดาเนินการได้ง่าย