Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ - Coggle Diagram
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
การกำหนดสื่อการเรียนรู้
เป็นเครื่องมือของการเรียนรู้ที่ทำหน้าที่ถ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึก ตลอดจนทักษะและประสบการณ์ไปสู่ผู้เรียน
วัสดุ
สื่อสิ่งพิมพ์ ประดิษฐ์ ถาวร สิ้นเปลือง
อุปกรณ์
เครื่องฉาย เครื่องบันทึกเสียง เครื่องเสียง
กิจกรรม
การทดลอง การสาธิต เล่นละคร จัดนิทรรศกา่ร
สื่อการเรียนรู้จากสิ่งแวดล้อม
กระดานดำ ประตู ต้นไม้ สนามฟุตบอล
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
ขั้นตอนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้
แบบที่1-ผู้เรียนพบความรู้ด้วยตนเอง
แบบที่2-ผู้สอนอธิบายแก่ผู้เรียน
แบบที่3-ผู้เรียนและผู้สอนมีบทบาทร่วมกัน
หลักการจัดการเรียนรู้
ลักษณะของผู้เรียน
ดูความรู้และความถนัดของผู้เรียน
บริบทการเรียนรู้
ผู้เรียนทุกคนมีความคาดหวังต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ภาระงานเพื่อการเรียนรู้
หากผู้เรียนมีภาระงานที่เน้นการพัฒนาระดับสูง ผู้สอนควรเป็นผู้ชี้นำ
มี4ขั้น คือ 1.ขั้นนำ(Introduce) 2.ขั้นสอน(Body) 3.ขั้นสรุป(Conclusion) 4.ขั้นประเมินผล (Assessment)
การกำหนดจุดประสงค์
1.ด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain)
จุดประสงค์การเรียนรู้ที่เน้นความสามารถทางสมอง หรือความรอบรู้ในเนื้อหาวิชาหลักการ
2.ด้านจิตพิสัย (Affective Domain)
เน้นด้านความสนใจ เจตคติ ค่านิยม อารมณ์และความประทับใจ
3.ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain)
เกี่ยวกับการพัฒนาทักษะทางกาย เน้นหนักด้านการวางท่าทางให้ถูกต้อง และเหมาะสมกับการปฏิบัติงานแต่ละชนิด
การกำหนดเนื้อหา
ความรู้
1.ข้อเท็จจริง
2.ความคิดรวบยอด
3.หลักการ
4.ทฤษฎี
ทักษะ
ความสามารถในการทำงาน
เจตคติ
สิ่งที่คาดหวังที่เกิดขึ้นแก่สภาวะจิตใจของผู้เรียน
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
องค์ประกอบหลัก
1.ผลการวัด (Measurement)เป็นข้อมูลที่ทำให้ทราบสภาพความจริงของสิ่งที่ประเมินว่ามีปริมาณหรือคุณสมบัติอย่างไร
2.เกณฑ์การพิจารณา (Criteria) เป็นมาตรฐานที่ใช้เปรียบเทียบกับการวัด
3.การตัดสินใจ (Decision) เป็นการตัดสินคุณค่าด้วยการเปรียบเทียบระหว่างผล การวัดเกณฑ์
ขั้นตอนในการวัดและประเมินผล
1.กำหนดจุดประสงค์ในการวัดและประเมินผลการเรียน
การเลือกและสร้างเครื่องมือ
การนำเครื่องมือไปทำการสอบวัดผู้เรียน
การตรวจและนำผลเปรียบเทียบกับเกณฑ์
การประเมินผล