Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ - Coggle…
บทที่ 3
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
วิวัฒนาการของกฎหมายวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
พ.ศ. 2472 ให้การประกอบโรคศิลปะเป็นการ
กระทำต่อมนุษย์เท่านั้น
พ.ศ. 2480 พระราชบัญญัติควบคุม
การประกอบโรคศิลปะ
พ.ศ. 2479 แบ่งการประกอบโรคศิลปะออกเป็น 2 แผน
ได้แก่ แผนโบราณ แผนปัจจุบัน
พ.ศ. 2518 เพิ่มอีก 2 สาขา คือ กายภาพบำบัดและเทคนิคการแพทย์ อีกทั้งหาแนวทางการจัดตั้งสภาการพยาบาล
พ.ศ.2528 ประกาศใช้พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
พ.ศ. 2534 การสอบขอขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ และการต่ออายุ
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ทุก 5 ปี รวมทั้งปรับปรุงอัตราค่าธรรมเนียม
พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2540” ได้ประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา เล่ม 114 ตอนที่ 75ก วันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2540
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์สำหรับพยาบาล และการกระทำความผิดที่พบบ่อย
ความหมาย
กำหนดสิทธิ หน้าที่ และความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนกับเอกชนโดยทุกฝ่ายมีฐานะเท่าเทียมกัน
กฎหมายพาณิชย์
การค้าขายหรือกิจการใดๆ ที่ได้กระทำในเรื่องหุ้นส่วน
บริษัท ประกันภัย ตั๋วเงิน
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
เกี่ยวกับวิธีการดำเนินพิจารณาพิพากษาคดีในกรณีที่
เกิดข้อพิพาทในทางแพ่งขึ้น
องค์ประกอบของนิติกรรม
ผู้กระทำต้องแสดงออกในฐานะที่เป็นเอกชน
การกระทำที่ชอบด้วยกฎหมาย
ทำให้เกิดการเคลื่อนไหวสิทธ
การกระทำโดยเจตนา
การแสดงเจตนาโดยชัดแจ้ง
การแสดงเจตนาโดยปริยาย
ประเภทของนิติกรรม
นิติกรรมที่พิจารณาแบ่งตามจำนวนคู่กรณี
นิติกรรมฝ่ายเดียว
นิติกรรมหลายฝ่าย
นิติกรรมที่พิจารณาแบ่งตามการมีผลของนิติกรรม
นิติกรรมที่มีผลขณะผู้แสดงเจตนายังมีชีวิต
นิติกรรมที่มีผลขณะผู้แสดงเจตนาไม่มีชีวิต
นิติกรรมที่พิจารณาแบ่งตามค่าตอบแทน
นิติกรรมที่มีค่าตอบแทน
นิติกรรมที่ไม่มีค่าตอบแทน
ความสามารถของบุคคลในการให้การยินยอมรักษาพยาบาล
บุคคล
บุคคลธรรมดา
การตายโดยธรรมชาติ
การสาบสูญ
นิติบุคคล
ผู้เยาว์(Minor)
คนไร้ความสามารถ (Incompetence)
คนเสมือนไร้ความสามารถ (Quasi – incompetence)
ลูกหนี้ที่ถูกศาลสั่งเป็นบุคคลล้มละลาย
สามีภริยา
สภาพบังคับทางแพ่ง
โมฆะกรรม
1.1 นิติกรรมที่มีวัตถุประสงค์ต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย
1.2 นิติกรรมที่ไม่ได้ทำให้ถูกต้องตามแบบที่กฎหมายกำหนด
1.3 การแสดงเจตนาโดยสำคัญผิดในสาระสำคัญแห่งนิติกรรม
โมฆียกรรม
2.1 ความสามารถของบุคคล
2.2 การแสดงเจตนาโดยวิปริต
การบังคับชำระหนี้
การชดใช้ค่าเสียหายหรือค่าสินไหมทดแทน
ความรับผิดทางแพ่งที่เกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
ความรับผิดจากการละเมิด
การกระทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมาย
การกระทำโดยจงใจหรือประมาท
ทำให้บุคคลอื่นเสียหาย
บุคคลต้องร่วมรับผิดกับผู้กระทำ
นายจ้างต้องร่วมรับผิดกับลูกจ้างในผลแห่งการละเมิด
ตัวการต้องรับผิดชอบผลแห่งการละเมิดของตัวแทนที่ได้กระทำไป
บิดามารดาของผู้เยาว์หรือผู้อนุบาลของผู้วิกลจริต
ครูบาอาจารย์นายจ้างหรือบุคคลอื่น
อายุความ
ผู้เสียหายมีสิทธิเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนอันเกิดจากการละเมิดภายใน 1 ปี
นับแต่วันที่รู้เรื่องการละเมิดและรู้ตัวผู้กระทำละเมิด และไม่เกิน 10 ปี นับแต่วันที่ละเมิด
ตัวอย่าง ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่เกี่ยวข้อง
มาตรา ๑๙ บุคคลย่อมพ้นจากภาวะผู้เยาว์และบรรลุนิติภาวะเมื่อมีอายุยี่สิบปีบริบูรณ
มาตรา ๒๓ ผู้เยาว์อาจท าการใดๆ ได้ทั้งสิ้น ซึ่งเป็นการต้องทำเองเฉพาะตัว
กฎหมายอาญาสำหรับพยาบาล และการกระทำความผิดที่พบบ่อย
ประเภทของความรับผิดทางอาญา
ความผิดต่อแผ่นดิน
ความผิดที่สำคัญและร้ายแรง มีผลกระทบต่อผู้เสียหายและ
สังคมส่วนรวม
ความผิดต่อส่วนตัว
ความผิดที่ไม่ร้ายแรง มีผลกระทบต่อผู้เสียหายฝ่ายเดียว และ
กฎหมายบัญญัติประเภทไว้ชัดเจน
ลักษณะสำคัญของความรับผิดทางอาญา
“ไม่มีความผิด ไม่มีโทษ ถ้าไม่มีกฏหมาย”
ต้องมีบทบัญญัติความผิด และกำหนดโทษไว้โดยชัดแจ้ง
ไม่มีผลย้อนหลังที่เป็นโทษ
ต้องตีความเคร่งครัดตามตัวอักษร
หลักเกณฑ์ความรับผิดทางอาญา
การกระทำ
กฎหมายบัญญัติว่าการกระทำนั้นเป็นความผิดและกำหนดโทษ
กระทำโดยเจตนา ประมาท หรือไม่เจตนา
เหตุยกเว้นความรับผิดทางอาญา
4.1 เหตุยกเว้นความรับผิด
การป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย
ผู้เสียหายยินยอมให้กระทำ
4.2 เหตุยกเว้นโทษ
กระทำด้วยความจำเป็น
การกระทำผิดเพราะความบกพร่องทางจิต
การกระทำตามคำสั่งของเจ้าพนักงาน
การกระทำของเด็กอายุไม่เกิน 10 ปี
การกระทำความผิดเกี่ยวกับทรัพย์
4.3 เหตุลดหย่อนโทษ
การกระทำความผิดโดยไม่รู้ว่ากฎหมายบัญญัติว่าเป็นความผิด
การกระทำโดยบันดาลโทสะ
เหตุอื่นๆ ในการลดหย่อนหรือบรรเทาโทษ
อายุความ
5.1 อายุความฟ้องคดีทั่วไป
แปรตามอัตราโทษตามความผิด
5.2 อายุความฟ้องคดีความผิดอันยอมความได้
โทษทางอาญา
โทษจำคุก
โทษกักขัง
โทษประหารชีวิต
โทษปรับ
โทษริบทรัพย์สิน
ลหุโทษ
การทำงานเพื่อบริการสังคม
ความรับผิดทางอาญาที่เกี่ยวกับการปฏิบัติการพยาบาล
การทอดทิ้งหรือละเลยผู้ป่วย
การเปิดเผยความลับของผู้ป่วย (Confidential disclosure)
1.ประมาททำให้ผู้อื่นได้รับอันตรายถึงแก่ความตาย
การปฏิเสธความช่วยเหลือผู้ที่ตกอยู่ในอันตรายต่อชีวิต
ความผิดเกี่ยวกับเอกสาร: การปลอมเอกสารและการทำหรือรับรองเอกสารเท็จ
การทำให้หญิงแท้งลูก (Induced abortion)
ตัวอย่าง ประมวลกฎหมายอาญาที่เกี่ยวข้อง
มาตรา ๒๘ ผู้ใดต้องโทษปรับ ผู้นั้นจะต้องชำระเงินตามจำนวนที่กำหนดไว้ในคำพิพากษาต่อศาล
มาตรา ๗๒ ผู้ใดบันดาลโทสะโดยถูกข่มเหงอย่างร้ายแรงด้วยเหตุอันไม่เป็นธรรม จึงกระทำความผิดต่อผู้ข่มเหงในขณะนั้น ศาลจะลงโทษผู้นั้นน้อยกว่าที่กฎหมายกำหนดไว้สำหรับความผิดนั้นเพียงใดก็ได้
มาตรา ๓๒ ทรัพย์สินใดที่กฎหมายบัญญัติไว้ว่า ผู้ใดทำหรือมีไว้เป็นความผิด ให้ริบเสียทั้งสิ้น ไม่ว่าเป็นของผู้กระทำความผิด และมีผู้ถูกลงโทษตามคำพิพากษาหรือไม่