Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 7 การสร้างเสริมสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ - Coggle Diagram
หน่วยที่ 7
การสร้างเสริมสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ
การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
:star:
การออกกำลังกาย/กิจกรรมทางกายเป็นประจำในผู้สูงอายุ
เป็นสิ่งจำเป็นสำหรับผู้สูงอายุ (WHO)
ควรได้รับการสนับสนุนให้มีกิจกรรมทางกายอย่างต่อเนื่องในหลายวิธีเท่าที่จะเป็นไปได้
Regular physical activity in the elderly
Regular physical activity
การเคลื่อนไหวทั้งหมดของร่างกายที่เกิดจากการทำงานของอวัยวะ ทำให้เกิดการเผาผลาญพลังงานที่เพิ่มมากขึ้น ไม่ว่าการเคลื่อนไหวนั้นจะเกิดขึ้นโดยตั้งใจหรือไม่ก็ตาม อย่างน้อย 150 นาที/สัปดาห์
Physical activity
การเคลื่อนไหวทั้งหมดของร่างกายที่เกิดจากการทำงานของอวัยวะต่างๆ ทำให้เกิดการเผาผลาญพลังงานที่เพิ่มมากขึ้น ไม่ว่าการเคลื่อนไหวนั้นจะเกิดขึ้นโดยตั้งใจหรือไม่ก็ตาม
การประเมินความพร้อมทางด้านร่างกาย
การรับประทานอาหารเพียงพอ
รับประทานอาหารเพียงพอและครบถ้วนตามชนิดที่ร่างกายต้องการ
เพื่อป้องกันอันตรายที่เกิดขึ้น จากการหกล้ม ข้ออักเสบ โรคหัวใจ หน้ามืด เป็นลม
ความเสี่ยงต่อการออกกำลังกายจากโรคเรื้อรัง
กรณีมีโรคประจำตัว พบแพทย์เพื่อปรึกษาเกี่ยวกับการออกกำลังกายที่เหมาะสม เพราะอาจกำเริบได้เมื่อออกกำลังกาย เช่น โรคความดันโลหิตสูง อาจเพิ่มสูงขึ้นเมื่อออกกำลังกายจึงต้องควบคุมความดันให้อยู่ในระดับปกติก่อน
ประวัติการได้รับยา
ยาขับปัสสาวะ อาจทำให้มีภาวะแคลเซียมและโปแตสเซียมในเลือดต่ำ
กลุ่มยา Beta blocker จะลด exercise tolerance
ยา Insulin ควรปรับขนาดลดลง หรือหลีกเลี่ยงการออกกำลังกายเมื่อระดับ insulin สูงสุด และควรตรวจระดับน้ำตาลในเลือดก่อนออกกำลังกาย
ความเสี่ยงต่อการออกกำลังกายจากโรคเรื้อรัง
หยุดเมื่อมีอาการเจ็บหน้าอก ปวดกระดูกหรือข้อ
อัตราการเต้นของหัวใจควรมีอัตราเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 70 ของอัตราการเต้นหัวใจสูงสุด
เพื่อประเมินตนเองก่อนออกกำลังกาย เช่น การจับชีพจร การวัด Stress test
การเตรียมร่างกายก่อนออกกำลังกาย
ก่อนออกกำลังกายควรเตรียมร่างกาย
การอบอุ่นร่างกายก่อน (Warm up)
ผ่อนความรุนแรงลงขณะจะหยุดออกกำลังกาย (Cool down)
แนวคิด
ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุสามารถดูแลตนเองได้ในเรื่องการรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย เพื่อคงไว้ซึ่งสมรรถนะและป้องกันภาวะทุพพลภาพ ตลอดจนการพักผ่อนนอนหลับและการป้องกันอุบัติเหตุ
หลักการออกกำลังกาย
ความถี่
ถ้าออกกำลังกายชนิดเบา จำนวนครั้งในการออกำลังกาย ควรเป็นวันละ 3-4 ครั้ง
ขึ้นกับขนาดความแรงของการออกกำลังกาย
ความแรงในการออกกำลังกาย (Intensity)
เพิ่มความแรงของการออกกำลังกายทีละน้อย
ระยะเวลา
ควรใช้เวลาประมาณ 30 นาทีในแต่ละวัน
3-5 ครั้ง/สัปดาห์ เป็นระยะเวลาราว 20-30 นาที/ครั้ง หรือประมาณ 30 นาที/วัน
ชนิดการออกกำลังกาย
Flexibility
Balance activities
Resistance activities
Aerobic activities
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุความดันโลหิตสูง
ควรออกกำลังกายแบบต่อเนื่อง (Aerobic exercise)
ขั้นตอนการออกกำลังกาย
2) ช่วงการออกกำลังกาย ตามหลัก
FITT
1) อบอุ่นร่างกาย (Warm up) 5-10 นาที ต่อด้วยยืดเหยียดกล้ามเนื้อ 10 นาที
Frequency : ออกกำลังกายแบบแอโรบิค 5 วัน/สัปดาห์
Intensity : ระดับความหนักพอควร (Moderate intensity)
Time :
30นาที/วัน หรือ 150 นาที/สัปดาห์
กรณีที่ไม่สามารถทำต่อเนื่องได้ สามารถแบ่งช่วงออกกำลังกายได้ โดยแบ่งช่วงละอย่างน้อย 10 นาที
Type : ออกกำลังกายแบบแอโรบิคเป็นหลัก
ข้อควรระวัง
2) ก่อนออกกำลังกาย หากความดันโลหิตได้มากกว่า 180/110 mmHg ควรงดออกกำลังกาย
3) ไม่ควรออกกำลังกายด้วยการเกร็งหรือท่าอะไรที่ต้องการมีการเกร็งค้างมาก
1) ไม่กลั้นหายใจขณะออกกำลังกายแบบมีแรงต้าน
4) ยาต้านเบต้า จะทำให้ผู้ป่วยควมดันโลหิตออกกำลังกายได้น้อยลง (ชีพจรจะไม่เพิ่มเพื่อเพิ่มปริมาณเลือด)
ความเครียดและการจัดการความเครียดของผู้สูงอายุ
:star:
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเครียดในผู้สูงอายุ
4) การดูแลคู่สมรสหรือบุคคลใกล้ชิดที่เจ็บป่วยเรื้อรังและการสูญเสียคู่สมรส
3) การที่ต้องรับภาระในการดูแลบุตรหลาน
5) สัมพันธภาพระหว่างเพื่อนลดลง
2) การเกษียณอายุราชการ
6) สถานภาพทางสังคมลดลง
1) การเปลี่ยนแปลงตามวัย
อาการแสดงของภาวะเครียดทางด้านร่างกายและอารมณ์
อาการปวดกล้ามเนื้อ
อาการปัสสาวะบ่อย
วิตกกังวล ท้อแท้ ซึมเศร้า
การรับประทานอาหารไม่อร่อย
อ่อนล้า สมาธิสั้น หลงลืม
การนอนไม่หลับ ฝันร้าย
การเผชิญปัญหา
การเผชิญปัญหาแบบมุ่งปรับอารมณ์ (วิธี)
แสดงความรับผิดชอบต่อปัญหา
ควบคุมตนเอง
ประเมินสถานการณ์ใหม่ทางบวก
แสวงเนื้อหาการเกื้อหนุนทางสังคม
หลีกเลี่ยงปัญหา
ถอยห่าง
การเผชิญปัญหาที่มุ่งแก้ปัญหา
การวางแผนแก้ปัญหา (Planful problem solving)
การที่บุคคลพยายามที่จะเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ และจัดการกับปัญหาที่เกิดขึ้น โดยมีการกระทำที่เป็นขั้นตอน มีการวิเคราะห์ปัญหา และหาวิธีการต่างๆ มากกว่า 1 วิธี หรือใช้ประสบการณ์เดิมๆ ในการแก้ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นให้ได้ผลดีมากที่สุด
เผชิญหน้ากับปัญหา (Confrontive coping)
การที่บุคคลมีความคิดหรือพฤติกรรมตรงไปตรงมาในการเผชิญหา ไม่หลีกหนี ถอยหนี หรือกระทำสิ่งต่างๆ อย่างหุนหันพลันแล่น แต่หันหน้าเผชิญปัญหา และมีความเข้าใจสภาพของปัญหาตามความจริง
วิธี
สนับสนุนให้มีการเข้าร่วมกิจกรรม
การมองโลกในแง่ดี
การหาวิธีผ่อนคลาย
การขอคำปรึกษาจากผู้เชี่ยวชาญ
ค้นหาสาเหตุของความเครียด
การนอนหลับอย่างมีคุณภาพ
กินอาหารให้ครบ 5 หมู่
สารอาหารที่ช่วยบำบัดความเครียด
ความหมายของความเครียด
Lazarus & Flokman, 1984
เป็นผลมาจากความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับสิ่งแวดล้อม โดยที่บุคคลเป็นผู้ประเมินด้วยสติปัญญา (Cognitive appraisal) ว่าความสัมพันธ์นั้นเกินขีดความสามารถหรือแหล่งประโยชน์ที่ตนเอง จะใช้ต่อต้านได้ และรู้สึกว่าถูกคุกคามเป็นอันตรายหรือสูญเสีย หรือท้าทายต่อความมั่นคงปลอดภัยของชีวิต
Selye, 1976
ภาวะทางชีวภาพที่แสดงให้รู้ได้โดยปรากฏการณ์ของกลุ่มอาการเฉพาะซึ่งเกิดขึ้นจากปฎิกิริยาตอบสนองของร่างกายต่อสิ่งรบกวน
โภชนาการสำหรับผู้สูงอายุ :star:
ความต้องการสารอาหารในผู้สูงอายุ
คาร์โบไฮเดรตร้อยละ 50-60
ผู้ที่ไม่มีความผิดปกติของตับและไต ต้องการโปรตีน 1-1.2 กรัม/วัน (โปรตีนคุณภาพดี ย่อยง่าย ไม่ติดมัน)
จำกัดไขมันไม่เกินร้อยละ 30 เน้นไขมันจากพืช
ผู้สูงอายุมีความต้องการพลังงานลดลง
ภาวะทุพโภชนาการ
ความหมาย
ภาวะโภชนาการพร่อง มีปัจจัยเสี่ยง 2 ปัจจัย
2) ความผิดปกติของการดูดซึมและการนำสารอาหารไปใช้
1) การได้รับอาหารที่จำเป็นไม่เพียงพอมำให้น้ำหนักลดลง
ภาวะที่มีปัญหาด้านการได้รับสารอาหาร เช่น การได้รับสารอาหารเกินหรือต่ำกว่ามาตรฐาน
ดัชนีมวลกายน้อยกว่า 18.5 kg/m2
บุคคลที่เสี่ยงต่อภาวะขาดสารอาหาร คือ บุคคลที่รับประทานอาหารน้อย หรือไม่รับประทานอะไรเลยมากกว่า 5 วัน
น้ำหนักตัวลดลงโดยไม่ตั้งใจมากกว่า 10 % ภายใน 3-6 เดือน
ผลกระทบของภาวะโภชนาการพร่องต่อผู้สูงอายุ
ระบบหายใจบกพร่องเพราะกล้ามเนื้ออ่อนแรง
แผลหายช้าขึ้น
ซึมเศร้า หดหู่
ความเสี่ยงในการติดเชื้อเพิ่มขึ้น
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุ
ภาวะโภชนาการเดิมและบริโภคนิสัย
สภาวะทางจิตใจ
ความรู้ด้านโภชนาการ
ภาวะทางเศรษฐกิจแลสังคม
ภาวะสุขภาพและโรคประจำตัว
การเปลี่ยนแปลงในวัยสูงอายุ
การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกายที่มีผลต่อภาวะโภชนาการ
การรับรู้รสชาติเสื่อม การหลั่งกรดในกระเพาะอาหารลดลง
การบีบตัวของกระเพาะอาหารและลำไส้ทำงานน้อยลง
การหลั่งน้ำย่อยจากตับอ่อนลดลงและการไหลเวียนเลือดที่ตับลดลง
ตามองไม่เห็น จมูกได้กลิ่นผิดปกติ ฟันผุหรือไม่มีฟัน
ความต้องการสารอาหารของผู้สูงอายุ
พลังงาน
ความต้องการพลังงางประจำวัน ไม่เกินวันละ 2,250 และ 1,850 กิโลแคล หรือ 30 กิโลแคล/กิโลกรัม (ขึ้นอยู่กับกิจกรรมที่ทำ)
โปรตีน
โปรตีนที่มีคุณค่า เช่น เนื้อสัตว์ (ย่อยง่าย ไม่ติดมัน) นม ไข่ และโปรตีนจากพืชที่สำคัญคือ ถั่วเหลือง
ไขมัน
กรดไขมันอิ่มตัว
คาร์โบไฮเดรต
ความคงทนต่อกลูโคสลดลง มีโอกาสเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดสูงหรือต่ำชั่วคราว
วิตามินและเกลือแร่
วิตามินเอ
วิตามินดี
วิตามินอี
วิตามินเค
วิตามินซี
วิตามิน B1
วิตามิน B2
วิตามิน B3
วิตามิน B6
วิตามิน B12
เกลือแร่
โฟเลท
แคลเซียม
เหล็ก
สังกะสี
หลักการจัดอาหารสำหรับผู้ป่วย
จัดอาหารให้น่าทาน
ลดอาหารประเภทพลังงานลง
ดื่มน้ำอย่างน้อยวันละ 1,500 มิลลิลิตร
ลดปริมาณอาหารที่ให้พลังงานสูง เช่น ขนมหวาน เค้ก
ลดการดื่มเหล้า สูบบุหรี่ ชา และกาแฟ
ไม่รับประทานน้ำตาลทรายมากเกินไป เพราะมีโอกาสเป็นโรคเบาหวานหรือไตรกลีเซอไรด์ในเลือดสูง
ใยอาหาร ควรรับวันละ 20-35 กรัม
โปรตีน รับประทานไข่วันละ 1 ฟอง
ใช้น้ำมันพืชที่มีกีดไลโนอิกในการปรุงอาหาร เช่น น้ำมันถั่วเหลือง
นันทนาการเพื่อผู้สูงอายุ :star:
นันทนาการ หมายถึง กิจกรรมที่ปฏิบัติในยามว่างที่ก่อให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน
สรุป กิจกรรมที่ทำในยามว่างที่ผู้เข้าร่วมมีอิสระในการตัดสินใจเลือกปฏิบัติด้วยตนเอง เพื่อก่อให้เกิดอารมณ์ที่ผ่อนคลาย และสนุกสนาน เพลิดเพลินกับตนเองและกลุ่ม
ประเภทและลักาณะนันทนาการที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุ
การออกกำลังกายและกีฬา
การออกกำลังกายเพื่อเพิ่มการแข็งแรงของกล้ามเนื้อ เช่น กายบริหารโดยใช้ยางยืด
การออกกำลังกายเพื่อเพิ่มการยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อและข้อต่อ เช่น ไท้เก็ก โยคะ
การออกกำลังกายเพื่อเพิ่มการไหลเวียนเลือด ได้แก่ การเดิน ว่ายน้ำ ถีบจัรยาน
กีฬากลางแจ้งและในร่ม ไม่มีการปะทะ ไม่มีการเหวี่ยงหรือกระแทก
เกมส์
ส่งเสริมให้เกิดการเคลื่อนไหว ทักษะเบื่องต้นของการเล่นกีฬา
การปลูกต้นไม้
เป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ผู้สูงอายุได้ทำร่วมกับสมาชิกในครอบครัว
งานศิลปะและหัตถกรรม
งานฝีมือ
การสะสม
แสตมป์ พระเครื่อง เหรียญเงินในสมัยต่างๆ
การทำอาหาร
แม้ว่าการทำอาหารเป็นกิจวัตรประจำวันของผู้สูงอายุ
การร้องเพลง การเล่นดนตรี
ร้องเพลง รำวง ซ้อม ลีลาศ
การเขียน อ่าน สนทนา โต้วาที
การเขียนบันทึกประจำวัน การเขียนบทกวี การเขียนเรื่องสั้น
งานประเพณีและวัฒนธรรม
งานบุญในชุมชน งานเทศกาลต่างๆ
กิจกรรมศาสนา
การร่วมสวดมนต์ การทำสมาธิ
การท่องเที่ยว
การเดินทางท่องเที่ยวจึงเป็นกิจกรรมที่ผู้สูงอายุ
กิจกรรมนันทนาการที่มีประโยชน์ด้านร่างกาย
ส่งเสริมความผ่อนคลาย
การออกกำลังกาย เช่น เทคนิคการผ่อนคลายกล้ามเนื้อ บริหารร่างกายแบบเหยียดหรือยืดกล้ามเนื้อ
ส่งเสริมความอ่อนตัว
งานศิลปะและหัตถกรรม เช่น นวดแป้งขนมปปัง ทำดอกไม้ การออกกำลังกาย เช่น ลีลาศ รำวง จิตลีลา
ส่งเสริมความพึงพอใจ และความสนุกสนานเพลิดเพลิน
งานอาสาสมัครเข้าสู่กิจกรรมที่สนใจ งานศิลปะหัตถกรรม เช่น งานปั้น งานประดิษฐ์ดอกไม้
ส่งเสริมประสิทธิภาพการทรงตัว
กายบริหาร ไท้เก็ก โยคะ เต้นรำ เช่น กิจกรรมเข้าจังหวะ ลีลาศ รำวง
ส่งเสริมการรับรู้ เวลา สถานที่
งานวันปีใหม่ งานวันสงกรานต์ และงานวันเกิด
ส่งเสริมการประสานความสัมพันธ์ของร่างกาย
กีฬา เช่น เปตอง โบว์ลิ่ง ยิงปืน ยิงปืนเป้าบินเต้นรำ เช่น ลีลาศ รำวง จิตลีลา
ส่งเสริมความจำและความภูมิใจ
เล่าเรื่องอดีตที่น่าจดจำ เกม เช่น ทายชื่อเพลงเก่า บอกชื่อและประวัติจากภาพ
ส่งเสริมการทำงานของระบบประสาท
เกม เช่น เสียงปริศนา ถุงปริศนา ปิดตาชิมรสทายชื่ออาหารหรือเครื่องดื่ม
ส่งเสริมความมั่นใจและคุณค่าของตนเอง
การเลี้ยงเด็ก กำพร้า การขายดอกมะลิวันแม่
ส่งเสริมความแข็งแรง และความทนทาน
การออกกำลัง เช่น แอโรบิคปลอดแรงกระแทกกีฬา เช่น ว่ายน้ำ เดินมาราธอน
ส่งเสริมสมาธิ และความสุขสงบทางจิตใจ
หมากรุก เกม การบวกเลข ลบเลข ทำสมาธิ สวดมนต์ แผ่เมตตา วาดรูป งานจักสาน
ระบายความขับข้องใจ
การต่อประโยค ปิดตาตีหม้อ การเล่นดนตรี การร้องเพลง การเขียนบันทึก
ส่งเสริมการมีปฏิสัมพันธ์ในสังคม
ตะกร้อลอดบ่วง มิตรสัมพันธ์ งานประเพณี
ส่งเสริมการแสดงออกทางสังคม
การแนะนำตัว การแสดงออก การแสดงบทบาทที่กำหนดให้
ส่งเสริมทักษะการสื่อความหมาย
เกมใบ้คำ เกมกระซิบ การเขียนกลอน
ส่งเสริมความรู้และประสบการณ์
การท่องเที่ยว โต้วาที การเขียนอ่าน สนทนา
ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า
การแสดง การแก้ปัญหาตามสถานการณ์ที่สมมติขึ้น การเลือกซื้อสินค้า
แนวคิดการนำนันทนาการมาใช้ในการพยาบาลผู้สูงอายุ
การปล่อยเป็นไปตามทฤษฏีถดถอยจากสังคม
ใช้ทฤษฏีการมีกิจกรรมร่วม ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุทำกิจกรรมต่างๆ
ผู้สูงอายุจำนวนไม่น้อย เมื่อมีเวลาว่างมากๆ จนไม่รู้จะทำอะไรเป็นวิกฤติของชีวิต
ลดความรู้สึกโดดเดี่ยว เพิ่มทักษะการปรับตัว
การแบ่งกิจกรรมเป็น 3 ช่วง
การนำเสนอคำแนะนำผ่านกระบวนการที่สร้างความสุข และความเพลิดเพลิน
คนเรามีเวลานอนหลับ 6-8 ชม. จึงมีเวลาตื่นประมาณ 16-18 ชม.
ทำให้ผู้สูงอายุเกิดพลังใจ ทำให้รู้สึกว่ามีคุณค่า มีศักยภาพ
กิจกรรมนันทนาการ กระบวนการพยาบาล
การจัดเตรียม
การจัดเตรียมสถานที่
ความสะดวก
ความเหมาะสม
ความปลอดภัย
การจัดเตรียมทีมจัดกิจกรรมนันทนาการ
การจัดเตรียมอุปกรณ์
สภาพเหมาะกับผู้สูงอายุ
ความปลอดภัย
ประหยัด
การวางแผนการพยาบาล
2) ไม่เกิดความคับข้องใจ หรือบอกความต้องการตนเองกับลูกได้
3) ไม่เกิดภาวะปอดอักเสบ ไม่พูดขณะรับประทานอาหารหรือ บอกอันตรายของการพูดขณะรับประทานอาหารได้
1) ไม่หกล้มหรือทำกิจวัตรประจำวันต่างๆได้
การดำเนินกิจกรรมนันทนาการ
การประเมิน
ข้อมูลพื้นฐาน อายุ เพศ การศีกษา ฐานะทางเศรษฐกิจ
ความสนใจ ความถนัด ลักษณะงานหรืออาชีพที่ปฏิบัติ
ข้อมูลเกี่ยวกับสุขภาพ เช่น โรคหัวใจ หลีกเลี่ยงกิจกรรมที่ต้องใช้แรงมาก
ระดับ ADL เช่น ผู้สูงอายุข้อนิ้วติด ควรจัดกิจกรรมที่มีการบริหารนิ้วมือ
ภาวะจิตสังคม ควรประเมิน การรับรู้ เวลา สถานที่ และบุคคล
การนอนหลับในผู้สูงอายุ :star:
ความหมาย
การพักผ่อนที่ดีที่สุด เป็นกิจกรรมจำเป็นในการดำรงชีวิต เช่นเดียวกับการหายใจ การรับประทานอาหาร ขับถ่าย
การนอนหลับและคลื่นไฟฟ้า
คลื่นนี้จะมีการเปลี่ยนแปลงลดลงเล็กน้อยเมื่ออายุมากกว่า 65 ปี
คลื่นเบต้า เป็นคลื่นไฟฟ้าสมองขณะง่วงนอนหรือการนอนระยะแรก ช่วงที่ไม่มีการกลอกลูกตาอย่างรวดเร็ว
นพ.เบเกอร์ พบคลื่นไฟฟ้าสมองในปี 1929 พบว่าคลื่นไฟฟ้าสมองความถี่ 8-13 รอบ/นาที เป็นคลื่นไฟฟ้าสมองในขณะตื่นแต่หลับตา
คลื่นไฟฟ้าสมองขณะนอนหลับและขณะตื่นมีความแตกต่างกัน
วงจรการนอนหลับ
เมื่อเข้าสู่การนอนหลับจะเข้าสู่ระยะการนอนหลับที่ไม่มีการกลอกตาอย่างรวดเร็ว 4 ระยะ
การตื่นนอน 16 ชม. เป็นช่วงที่จังหวะชีวภาพ มีการเปลี่ยนแปลงสัมพันธ์กับหน้าที่ของระบบประสาทฮอร์โมน
การนอนหลับปกติทุกคืนจึงแบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ NREM และ REM
โดยปกติของผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ เริ่มจากระยะการนอนหลับที่ไม่มีการกลอกตาอย่างรวดเร็ว (NREM) แล้วจึงเข้าสู่ระยะที่มีการกลอกตาไปมาอย่างรวดเร็ว (REM)
มีความแตกต่างกันทั้งระดับความรู้สึกตัว คลื่นไฟฟ้าสมอง การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ เช่น การเต้นของหัวใจ การหายใจ ความตึงตัวของกล้ามเนื้อ
ระยะการนอนหลับที่ไม่มีการกลอกตาอย่างรวดเร็ว (NREM)
ระยะที่ 1
อายุมากขึ้นระยะนี้เพิ่มขึ้น 8-15 นาที ทำให้หลับยาก
ปกติระยะนี้ใช้เวลา 1-7 นาที
ถูกกระตุ้นง่าย ตื่นบ่อย นอนไม่หลับ ไม่สดชื่น
หลับตื้น แบบเคลิ้มหลับ กล้ามเนื้อเริ่มผ่อนคลาย อัตราการใจช้าลง บางครั้งอาจพบว่า หายใจไม่สม่ำเสมอ
ระยะที่ 2
อัตราการเผาผลาญร่างกายและอุณหภูมิจะลดต่ำลง
จะสะดุ้งตื่นได้ ถ้าถูกกระตุ้นแรง
ระยะนี้ร่างกายผ่อนคลายมากขึ้น ไม่มีการกลอกตาหรือมีน้อยมาก
ระยะนี้ใช้เวลา 10-15 นาที
สำหรับผู้สูงอายุระยะนี้ไม่มีการเปลี่ยนแปลง
ระยะที่ 3
กล้ามเนื้อคลายตัวมากขึ้น ระบบประสาทพาราซิมเธติก ทำให้อัตราการหายใจและความดันโลหิตลดลง
ปลุกตื่นยาก
อัตราการเผาผลาญอยู่ในระดับต่ำ
ระยะเริ่มหลับสนิท หลังจากเริ่มหลับประมาณ 30-45 นาที
ระยะที่ 4 (NREM)
ระยะนี้นอนหลับสนิทที่สุด หลังจากนอนหลับระยะที่ 1 NREM ประมาณ 40 นาที
ระยะนี้การหลั่งโกรทฮอร์โมน และอื่นๆ
มีการเพิ่มขนาดเซลล์ และสะสมพลังงาน
ปัสสาวะราดที่นอน การกรน การฝันเปียก เมื่อตื่นสามารถจำความฝันได้ร้อยละ 20
ระยะนี้บ่งบอกถึงคุณภาพการนอนหลับในคืนนั้น
การนอนระยะที่ 3,4 NREM ของผู้สูงอายุจะลดร้อยละ 15-20
REM
อัตราการหายใจ อัตราการเต้นของหัวใจ ความดัน อุณหภูมิสูงขึ้น
มีการหลั่งเหงื่อและการกลอกตา
มีการหลั่งอะดรีนาลินเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า ทำให้ร่างกายต้องการออกซิเจนเพิ่มขึ้น
ระยะฝันเป็นเรื่องราว เมื่อตื่นนอนจำฝันได้ร้อยละ 80
ปลุกได้ยากกว่าระยะอื่น
อาจมีการแสดงออกของใบหน้า เช่นหัวเราะ ร้องไห้
เกิดเริ่มต้นการนอนหลับประมาณ 90-100 นาที
ระยะนี้มีประโยชน์ ในการส่งเสริมความคิด ความจำ และการรับรู้
การกระตุ้นการทำงานของสมองบางส่วนถูกยับยั้งในขณะหลับสนิท
ในผู้สูงอายุการนอนระยะนี้ลดลง ร้อยละ 20-25
การนอนหลับในผู้สูงอายุ
คุณภาพการนอนลดลง
ตื่นนอนตอนเช้าไม่สดชื่น
ถูกปลุกง่าย
เข้านอนคืนถัดไปเร็วขึ้น
ระยะ 1 เพิ่มระยะ 3,4 ลดลง
ตื่นบ่อยๆกลางดึก
ผลกระทบเนื่องจากปัญหาการนอนหลับของผู้สูงอายุ
ผู้สูงอายุที่มี sleep apnea (มากกว่า10ชม./คืน) เสี่ยงต่อการเกิด MI
เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ
บั่นทอนสุขภาพกาย
ลดความทรงจำ
ระบบภูมิคุ้มกันทำหน้าที่ลดลง เกิดโรคติดเชื้อง่าย
ง่วงซึม อ่อนเพลีย อิดโรย ไม่แจ่มใส
เพิ่มโอกาสใช้สารเคมีไม่เหมาะสม เช่น กาแฟ
แก้ปัญหาการนอนไม่หลับตอนกลางคืนโดยการดื่มสุรา
ความสามารถในการทำกิจกรรมลดลง
ปัจจัยรบกวนการนอนหลับในผู้สูงอายุ
ด้านจิตใจและอารมณ์
ปัจจัยด้านจิตใจและอารมณ์ที่รบกวนการนอนหลับมีหลายประการ
อารมณ์เศร้า
ความเครียด
ความวิตกกังวล
ด้านสิ่งแวดล้อม
แสง ระดับความเข้มแสงมากกว่า 2,000 ลัคซ์
อุณหภูมิ 23.9 - 27.0 องศา
อื่นๆ ได้แก่ กลิ่น เพื่อนร่วมห้อง แมลง
เสียง บุคคลนอนหลับได้ดีที่ระดับความดัง 45 เดซิเบล ปกติเสียงพูดคนอยู่ที่ 50 เดซิเบล
ด้านร่างกาย
ความสูงอายุ
ความเจ็บปวด
ความไม่สุขสบาย
การขับถ่ายปัสสาวะ
การถ่ายปัสสาวะ
การหายใจลำบาก
อาการไอ
การกระตุกแขนขาขณะหลับ
ยา
คาเฟอีน
บุหรี่
แอลกอฮอล์
ปัญหาการนอนไม่หลับในผู้สูงอายุ
การนอนหลับมากกว่าปกติ (Hypersomnia)
โรคหรือความผิดปกติทางร่างกายและจิตใจ
พฤติกรรมอนามัยไม่เหมาะสม
ความเสื่อมตามวัย
การนอนหลับไม่เพียงพอ (Insomnia)
นอนหลับยากหรือนอนไม่หลับ
นอนหลับไม่ต่อเนื่อง คือนอนหลับแล้วตื่นมากลางดึก
ตื่นนอนเช้ามาก