Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการวัดและประเมินผลการศึกษา - Coggle Diagram
หลักการวัดและประเมินผลการศึกษา
แนวคิดพื้นฐาน
การเรียนการสอนกับการวัด ประเมินผล
หลักสูตร
จุดมุ่งหมาย+เนื้อหา
การสอน
กระตุ้นการเรียนรู้
การสอบ
ตรวจสอบประสิทธิภาพ
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน และการวัดประเมินผล
แบบที่ 1 แยกส่วน
แบบที่ 2 แยกส่วนต่อเนื่อง
ความสัมพันธ์ระหว่างการเรียนการสอน และการวัด ประเมินผล
1.แบบพื้นฐานการเรียนการสอน
สอนแล้วสอบ สอบแล้วสอน
2.แบบผสมผสานเป็นเกลียว
เรียน สอน สอบ ดำเนินพร้อมกัน
สอบ/ประเมินผลเป็นตามความจริง
ความสำคัญของการวัดและประเมินผลทางการศึกษา
ด้านการบริหารจัดการ
การบริหารงาน
การวางแผนปฏิบัติงาน/โครงการ/กิจกรรม
การแนะแนวและกิจกรรม
ส่งเสริมกิจกรรมให้ผู้เรียน
สร้างสัมพันธ์ระหว่างผู้ปกครองกับโรงเรียน
ด้านการศึกษาค้นคว้าวิจัย
ค้นหาวิธีการสอน
ด้านการเรียนการสอน
ผู้สอน
ตัดสินผลการเรียน
เลือกวิธีสอนให้เหมาะแก่ผู้เรียน
ผู้ปกครอง
เข้าใจในตัวบุตรหลาน
ส่งเสริม สนับสนุน แก่บุตรหลาน
ผู้เรียน
มีความก้าวหน้าทางการเรียน
บอกความสามารถในการเรียนรู้
จุดมุ่งหมาย
บุคคลที่เกี่ยวข้อง
ผู้บริหาร
นักวิชาการศึกษา
ครูผู้สอน
นักแนะแนว
บทบาทหน้าที่
3.เปรียบเทียบความก้าวหน้า
ความสามารถของผู้เรียนในเวลาหนึ่งกับอีกเวลาหนึ่ง
4.เพื่อการพยากรณ์
ช่วยให้ผู้เรียนปรับปรุงศักยภาพให้ถูกทิศทางมากขึ้น
2.เพื่อการวินิจฉัย
ค้นหาสาเหตุต่อการปรับปรุง
5.เพื่อการประเมินค่า
ปรับปรุงผู้เรียน ผู้สอน ผู้บริหาร และบริหารการจัดการ
1.เพื่อจัดหาตำแหน่ง
คัดเลือก
รับ-ไม่รับ/ผ่าน-ไม่ผ่านเกณฑ์
จำแนก
ใช้มากในการจัดการเรียนการสอน
เก่ง-อ่อน/สอบได้-สอบตก
องค์ประกอบ(ตามหลักสูตรแกนกลางขั้นพื้นฐาน 2551)
1.ประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
สมรรถนะ
การเรียนรู้
2.วัดและประเมินผลการเรียนรู้
ความก้าวหน้า
ความสำเร็จทางการเรียน
พัฒนาการ
ระดับการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ระดับสถานศึกษา
ตัดสินผลการเรียรายปี/ภาค
ระดับเขตพื้นที่การศึกษา
ประเมินโดยใช้ข้อสอบมาตรฐาน
ระดับชั้นเรียน
การซักถาม
การตรวจการบ้าน
ใช้แบบทดสอบ
ระดับชาติ
การทดสอบo-net
ยกระดับการศึกษา
เกณฑ์การวัดและการประเมินผลการเรียน
1.ตัดสินใจ ให้ระดับและการรายงานผลการเรียน
ตัดสินผลการเรียน
ประถมศึกษา
ประเมินตัวชี้วัดให้ผ่านตามที่กำหนด
มีผลการเรียนทุกรายวิชา
เวลาเรียนไม่น้อยกว่า80% ของเวลาเรียนทั้งหมด
ผู้เรียนต้องได้รับการประเมิน
อ่านเขียน
คิดวิเคราะห์
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
มัธยมศึกษา
ประเมินตัวชี้วัดให้ผ่านตามที่กำหนด
มีผลการเรียนทุกรายวิชา
เวลาเรียนไม่น้อยกว่า80% ของเวลาเรียนทั้งหมดในรายวิชานั้นๆ
ผู้เรียนต้องได้รับการประเมิน
อ่านเขียน
คิดวิเคราะห์
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
การให้ระดับผลการเรียน
ประถมศึกษา
ตัวเลข อักษร ร้อยละ
ประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ เขียน คุณลักาณะอันพึงประสงค์
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
มัธยมศึกษา
ระดับผลการเรียนรายวิชา 8 ระดับ
ประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ เขียน คุณลักาณะอันพึงประสงค์
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
รายงานผลการเรียน
ผู้ปกครองและผู้เรียนทราบผลการเรียน
2.เกณฑ์การจบการศึกษา
มัธยมศึกษาตอนต้น
มีผลประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ ผ่านเกณฑ์
ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ผ่านเกณฑ์
หน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า77หน่วยกิต
เพิ่มเติม14 หน่วยกิต
พื้นฐาน63 หน่วยกิต
เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนผ่านเกณฑ์
เรียนวิชาพื้นฐาน/เพิ่มเติม ไม่เกิน81หน่วยกิต
มัธยมศึกษาตอนปลาย
เรียนวิชาพื้นฐาน/เพิ่มเติม ไม่เกิน81หน่วยกิต
หน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า77หน่วยกิต
พื้นฐาน39 หน่วยกิต
เพิ่มเติม38 หน่วยกิต
มีผลประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ ผ่านเกณฑ์
ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ผ่านเกณฑ์
เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนผ่านเกณฑ์
ประถมศึกษา
มีผลประเมินรายวิชาพื้นฐานผ่านเกณฑ์
มีผลประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ ผ่านเกณฑ์
เรียนวิชาพื้นฐาน/เพิ่มเติม ตามเวลาเรียนที่กำหนด
ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ผ่านเกณฑ์
เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนผ่านเกณฑ์
หลักของการวัดการศึกษา
ใช้เครื่องมือที่มีคุณภาพและยุติธรรม
แปลผลให้ถูกต้องและใช้ผลอย่างคุ้มค่า
วัดให้ตรงวัตถุประสงค์