Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สถานการณ์ที่ 5 เรื่อง ภาวะมีบุตรยาก - Coggle Diagram
สถานการณ์ที่ 5 เรื่อง ภาวะมีบุตรยาก
จากสถานการณ์ควรประเมินอะไรเพิ่มเติม
ฝ่ายหญิง
อายุที่มีประจำเดือนครั้งแรก ลักษณะและวงรอบของการมีประจำเดือน
วิธีการคุมกำเนิดในอดีต และปัจจุบัน
รูปแบบการมีเพศสัมพันธ์กับการมีประจำเดือน
ระยะเวลาที่มีเพศสัมพันธ์
ประวัติโรคประจำตัวและการรักษา
ประวัติการติดเชื้อ
ประวัติการผ่าตัดในอดีต
ประวัติการได้รับยา และสารเสพติด
อาชีพ
ฝ่ายชาย
ประวัติการเจริญพันธุ์ เช่น อายุ ความถี่ของการมีเพศสัมพันธ์
ประวัติโรคและการใช้ยา
โรคประจาตัว เช่น เบาหวาน วัณโรค ไต ไทรอยด์ หรือโรคเกี่ยวกับความผิดปกติของต่อม หมวกไต
โรคคางทูมในวัยเด็ก ความผิดปกติเกี่ยวกับอวัยวะสืบพันธุ์ เช่น เนื้องอก ท่อน้าเชื้ออสุจิ อักเสบ และต่อมลูกหมากอักเสบ
ประวัติการผ่าตัด เช่น การผ่าตัดเกี่ยวกับระบบอวัยวะสืบพันธุ์ การผ่าตัดต่อมลูกหมาก
อาชีพ เช่น อาชีพท่ีต้องนั่งทางานเป็นระยะเวลานานๆ อาจมีผลกระทบต่อการสร้างอสุจ
การสวมใส่กางเกงในที่รัดแน่น การแช่น้าอุ่น จะทาให้อุณหภูมิภายในอัณฑะสูงขึ้น และการใช้ถุงยางอนามัย
ใช้สารเสพติด เช่น เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ บุหรี่ และสารเสพติด
สามีกับภรรยาคนเก่าใช้ระยะเวลากี่ปีในการมีบุตร
ตรวจร่างกายและห้องปฏิบัติการ
ตรวจ CBC เพื่อประเมินภาวะติดเชื้อ
ตรวจโรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
ตรวจหมู่เลือด Rh และกลุ่มเลือด
ฝ่ายชาย
วิเคราะห์น้ำอสุจิ semen analysis
การตรวจระบบต่อมไร้ท่อ และวิเคราะห์ปริมาณของฮอร์โมน testosterone LH และFSH
การตัดเอาเนื้ออัณฑะบางส่วนมาวินิฉัย
ตรวจการเจาะไข่อสุจิ
การตรวจ postcoital test : PCT
ฝ่ายหญิง
ตรวงจวัดระดับ ฮอร์โมน progesterone
ตรวจการทำงานของรังไข่ โดยการวัด Basal body temperature
การประเมินมูกที่ปากมดลูก Cervical mucus evaluation
การฉีดสีดูท่อนำไข่
การใช้กล้องส่องเข้าไปดูอวัยวะในอุ้งเชิงกราน
ท่านคิดว่าทั้งคู่มีภาวะมีบุตรยากหรือไม่อย่างไร
ทั้งคู่มีภาวะมีบุตรยาก เนื่องจากคู่สามีภรรยามีเพศสัมพันธ์ห่างเกินไป คือ สามีทำงานต่างจังหวัดกลับเดือนละครั้ง และทั้งคู่ไม่มีความรู้หรือปฏิบัติไม่ถูกต้องในการมีเพศสัมพันธ์
จากสถานการณ์ควรให้คำแนะนำอย่างไร
ภาวะมีบุตรยาก มีผลกระทบอย่างมากทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ ต่อสามีภรรยา และครอบครัว พยาบาลควรมีพื้นฐาน ดังนี้
ให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะมีบุตรยากแก่คู่สมรส
ให้ข้อมูลในการช่วยลดความวิตกกังวล ความตึงเครียด ความสับสน แก่ผู้ที่มีบุตรยาก และคู่สมรสทั้งในระยะ ตรวจรักษา และการดำเนินชีวิต
ช่วยให้คู่สมรสได้เตรียมตัวเตรียมใจสำหรับการตรวจรักษา การปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง
แนะนำทางเลือกที่เหมาะสมกับคู่สมรสในการมีบุตร
ส่งเสริมให้คู่สามีภรรยามีสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน
ให้คำปรึกษาโดยการประคับประคองด้านจิตใจและอารมณ์ ในเชิงให้กำลังใจ
ปรับเปรียบพฤติกรรม และแบบแผนในการดำเนินชีวิต
ตัวอย่างสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก
ฝ่ายชาย
ความผิดปกของอสุจิเกี่ยวข้องกับการเสียหน้าที่ในการสร้างอสุจิ
ความผิดปกติของกายวิภาคของอวัยวะสืบพันธุ
ความผิดปกติของการหลั่งน้ำอสุจิ
ความผิดปกติด้านการตื่นตัว
สุขภาพจิต
โรคของต่อมไร้ท่อ
ฝ่ายหญิง
ความผิดปกของการทำงาน hypothalamus หรือ pituitary gland
ความผิดปกติการทำหน้าที่ของรังไข่
กลุ่มอาการถุงน้ำรังไข่ polycyspic ovarian syndrome
ความผิดปกติของการตกไข่
ปัญหาเกี่ยวกับท่อนำไข่
ความผิดปกติของปากมดลูก เอสโตรเจน
ความผิดปกติของตัวมดลูก
ความผิดปกติของการทำงานต่อมไร้ท่อ
เทคโนโลยีที่ช่วยเจริญพันธุ์ในภาวะมีบุตรยาก
Gamete intrafallopian transfer : GIFT
มีบุตรยากไม่ทราบสาเหตุ ใช้ในกรณีหญิงมีท่อนำไข่ปกติอย่างน้อยหนึ่งข้าง ความผิดปกติฝ่ายชายที่ไม่รุนเเรง
Zygote intrafallopian transfer : ZIFT
In Vitro Fertilization : IVF
Intracytoplasmic sperm injection : ICSI
Subzonal injection : SUZI
Partial zona dissection : PZD
Surrogate mothering