Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลสตรีในระยะตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
การพยาบาลสตรีในระยะตั้งครรภ์
ระบบสืบพันธ์
มดลูก (Uterus)
การหดรัดตัวของมดลูก(Contractility)
สตรีตั้งครรภืสามารถรับรู้ถึงการหกรัดตัวของมดลูกผ่านผนังหน้าท้อง มดลูกมีการหดรัดตัวไม่สม่ำเสมอ และไม่มีอาการเจ็บครรภ์
ฺBraxton Hick contraction
เฝ้าระวังอาการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด คือมดลูกหดรัดตัว ≥4 ครั้งใน 20 นาที หรือ 8 ครั้งใน 60 นาท
.แนะนำอาการที่ควรมาพบแพทย์ก่อนนัด
เต้านม
เนื่องจาก Estrogen เพิ่มมากขึ้น ทำให้เลือดมาเลี้ยงเต้านมเพิ่มมากขึ้น ขนาด รูปร่าง น้ำหนัก เต้านมเพิ่มมากขึ้น มีรอยแตกลาย
การปรับตัวเข้าสู่่บทบาทการเป็นมารดา
พัฒนกิจที่ 2
การมีตัวตนของบุตร และรับรู้ว่าบุตรในครรภ์เป็นส่วนหนึ่งของตน
รู้สึกว่าลูกดิ้น มีการรับประทานอาหารและยาตามคำแนะนำของแพทย์
พัฒนกิจที่ 3
การยอมรับว่าทารกเป็นบุคคลที่มีบุคคลิคภาพที่แตกต่างไปจากตน
เมื่อเริ่มรู้สึกว่าเด็กดิ้น มีการสัมผัสทางหน้าท้อง ยอมรับการตั้งครรภ์ของตนเองมากขึ้น
พัฒนกิจที่ 4
การเปลี่ยนบทบาทเป็นมารดา
พัฒนกิจที่ 1
การสร้างความมั่นใจและการยอมรับการตั้งครรภ์
กรณีศึกษาประจำเดือนจำเดือนขาด 1เดือน และมีอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่ายจึง สงสัยว่าตนเองตั้งครรภ์ ต้องการความมั่นใจจากผลการตรวจจึงมาตรวจที่โรงพยาบาล
หญิงตั้งครรภ์น้ำหนักเพิ่มน้อย
BMI 18.5-24.9kg/m2 (normal weight) ควรมีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น 11.5-16 kg
(ไตรมาสแรก 0.5-2 kg, ไตรมาสสองและสาม 0.5 kg/week)
BMI 25-29.9kg/m2 (overweight) ควรมีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น 7-11.5 kg
(ไตรมาสแรก 0.5-2 kg, ไตรมาสสองและสาม 0.25 kg/week)
BMI < 18.5kg/m2 (underweight) ควรมีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น 12.5-18 kg
(ไตรมาสแรก 0.5-2 kg, ไตรมาสสองและสาม 0.5 kg/week)
หญิงตั้งครรภ์น้ำหนักเพิ่มน้อยกว่า 0.5 กิโลกรัม/สัปดาห์
อธิบายเกณฑ์น้ำหนักที่ควรเพิ่มตลอดการตั้งครรภ์ให้มารดาเข้าใจว่าน้ำหนักควรเพิ่มขึ้น 12.5-18 กิโลกรัม เพื่อให้น้ำหนักทารกเป็นไปตามเกณฑ์
แนะนำให้มารดารับประทานอาหารอ่อนย่อยง่าย อาหารที่รสเปรี้ยวเพื่อกระตุ้นให้เกิดการอยากอาหาร
แนะนำให้มารดารับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ โดยเฉพาะโปรตีน เช่น เนื้อไก่ เนื้อปลา ไข่อย่างน้อยวันละ 1 ฟอง ดื่มนมให้ได้วันละ 2 - 3 แก้ว
แบ่งอาหารเป็นมื้อเล็กๆ ให้มารดาได้รับประทานอาหารบ่อยมากขึ้น
กำหนดเป้าหมายร่วมกันในการเพิ่มขึ้นของน้ำหนักตัวของมารดา น้ำหนักต้องเพิ่มขึ้นอย่างน้อย 0.5 กิโลกรัม
BMI ≥30kg/m2(obesity) ควรมีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น 5-9 kg
(ไตรมาสแรก 0.5-2 kg, ไตรมาสสองและสาม 0.25 kg/week)
ระบบต่อมไร้ท่อ (Endocrine system)
ต่อมพาราไทรอยด์ : ฮอร์โมน Parathyroid ลดลงใน ไตรมาสแรก ฮอร์โมน Parathyroid มีหน้าที่ควบคุมการเผาผลาญแคลเซียม และฟอตเฟส
แคลเซียมลดลง ฟอตเฟตมากขึ้นร่วมกับมดลูดมีขนาดใหญ่ขึ้น
ส่งผลให้หญิงตั้งครรภ์เป็นตะคริว
แนะนำให้หลีกเลี่ยงการยืนนานๆหรือนั่งห้อยเท้านานๆ
แนะนำให้สวมใส่รองเท้าส้นเตี้ย และหลีกเลี่ยงการสวมเสื้อผ้าหรือถุงน่องที่รัดแน่น
หลีกเลี่ยงการกดปลายเท้าลง (Plantar flexion) และการนั่งไขว้ขวา
เหยียดน่องและใช้มือกดที่หัวเข่าข้างที่เป็นตะคริวให้เหยียดตรงและกระดกปลายเท้าขึ้น หรืออาจให้สามีหรือญาติช่วยจับปลายเท้าข้างที่เป็นตะคริวให้กระดกขึ้น (Dorsiflex)
ประคบร้อนบริเวณที่เป็นตะคริว