Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ชื่อ นางสง่า รัตนอำนวยชัย (B2) อายุ 70 ปี
Dx. Close fracture distal Rt…
ชื่อ นางสง่า รัตนอำนวยชัย (B2) อายุ 70 ปี
Dx. Close fracture distal Rt femer
(Periprosthetic fracture)
-
-
ยา
Amlodipine (แอมโลดิปีน) ช่วยควบคุมโรคความดันโลหิตสูง บรรเทาอาการเจ็บหน้าอกจากกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
Furosemide (ฟูโรซีไมด์) ยาขับปัสสาวะ มีคุณสมบัติช่วยขับของเหลวส่วนเกินในร่างกายออกมาทางปัสสาวะ และช่วยป้องกันร่างกายไม่ให้ดูดซึมเกลือหรือโซเดียมมากจนเกินไป
Cefazolin (เซฟาโซลิน) เป็นยาปฏิชีวนะกลุ่มเซฟาโลสปอริน มีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียในร่างกาย ใช้รักษาหรือป้องกันโรคหรือการติดเชื้อจากแบคทีเรีย
Tramadol (ทรามาดอล) เป็นยาแก้ปวดในกลุ่มยาระงับปวด โดยนิยมใช้ในกรณีที่มีอาการปวดค่อนข้างรุนแรง เป็นยาที่จัดอยู่ในยาอันตรายและเป็นยาที่จ่ายได้ภายใต้คำสั่งแพทย์เท่านั้น
Omeprazole (โอเมพราโซล) เป็นยาลดการหลั่งกรดในกระเพาะอาหาร ใช้รักษาอาการกรดไหลย้อนหรือโรคที่มีกรดในกระเพาะอาหารมากเกินไป รักษาโรคหลอดอาหารอักเสบจากกรดในกระเพาะ
Glipizide (ไกลพิไซด์) คือ ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด ใช้ในการรักษาอาการผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดนี้ที่ 2 โดยกลไกในการทำงานคือช่วยควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดทำให้ตับอ่อนสามารถสร้างอินซูลินได้มากขึ้น ซึ่งยาชนิดนี้แพทย์จะต้องเป็นผู้สั่งใช้เท่านั้น
-
พยาธิสภาพ
-
อาการ
- รู้สึกปวดกระดูกหรือรอบ ๆ บริเวณที่ได้รับบาดเจ็บอย่างรุนแรง โดยอาการจะแย่ลงเมื่อเคลื่อนไหว อวัยวะที่ได้รับบาดเจ็บ หรือได้รับแรงกดที่บริเวณดังกล่าว
- เกิดอาการบวมบริเวณกระดูกที่ได้รับบาดเจ็บ ทั้งนี้ยังเกิดรอยช้ำและเลือดออกจากผิวหนัง
- อวัยวะผิดรูป เช่น แขนหรือขาผิดรูป โดยแขนหรือขาจะงอ หรือหักบิดในลักษณะที่ผิดปกติ
- เคลื่อนไหวแขนขาได้น้อย หรือเคลื่อนไหวไม่ได้เลย
- รู้สึกชา และเกิดเหน็บชา
- ผู้ป่วยบางรายอาจเกิดกระดูกทิ่มผิวหนังออกมา
สาเหตุ
- ประสบอุบัติเหตุ
- ถูกตีหรือได้รับแรงกระแทกอย่างรุนแรง
- ตกลงมาจากที่สูง
- ได้รับแรงกระแทกจากการเคลื่อนไหว
- ป่วยเป็นโรคกระดูกพรุนหรือมะเร็งบางชนิด
ภาวะแทรกซ้อน
- เกิดอาการข้อติดแข็ง เนื่องจากมีแผลเป็นยึดติดกับกล้ามเนื้อ หรือเยื่อหุ้มข้อข้างเคียง ทำให้ข้อเคลื่อนไหวได้น้อยลง หรือเคลื่อนไหวไม่ได้ ผู้ป่วยต้องพยายามเคลื่อนไหวร่างกายส่วนที่ผ่าตัด
- การเจริญเติบโตของกระดูกผิดปกติ หรือกระดูกผิดรูป เกิดภาวะกล้ามเนื้ออักเสบที่มีหินปูนจับ โดยผู้ป่วยจะมีก้อนกระดูกเกิดขึ้นในกล้ามเนื้อที่ได้รับบาดเจ็บ
- กระดูกไม่ติด หรือติดช้ากว่าปกติ เนื่องจากยึดตรึงกระดูกได้ไม่คงที่ หรือการผ่าตัดที่มีผลต่อการไหลเวียนของเลือดบริเวณกระดูกที่หัก
- ข้อติดแข็ง เนื่องจากมีแผลเป็นยึดติดกับกล้ามเนื้อ หรือเยื่อหุ้มข้อข้างเคียง ทำให้ข้อเคลื่อนไหวได้น้อยลง หรือเคลื่อนไหวไม่ได้
- การติดเชื้อ เนื่องจากการผ่าตัดทำให้บาดแผลซึ่งเป็นทางเข้าของโรคร่วมกับการมีวัสดุยึดตรึงกระดูกซึ่งเป็นสิ่งแปลกปลอมในร่างกาย ทำให้มีโอกาสติดเชื้อได้ง่าย
-
ประวัติ
Case ผู้ป่วยหญิง อายุ74ปี U/D DM, HT(underlying Diabetic mellitus ,Hypertension) รักษา โรงพยาบาลไทรน้อย S/P(status post ) TKA both knees 2 yeas PTA มา admit ด้วยอาการปวดต้นขาขวา 6 hrs PTA ตกร่องน้ำ right leg swelling + tenderness film right femur AP, Lateral : CFx distal femur (perprosthetic fracture) plan set OR for ORIF c LCP right femur วันนี้ แต่มีปัญหาว่า CXR มี cardiomegaly with mild pulmonary congestion ไม่เหนื่อย EKG: Normal sinus rhythm
ปัญหา
-
3.abnormal CXR : cardiomegaly, mild pulmonary congestion
-