Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสร้างเสริมสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ - Coggle Diagram
การสร้างเสริมสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ
ความเครียดและการจัดการความเครียดของผู้สูงอายุ
การจัดการกับความเครียด
การเผชิญปัญหา
การเผชิญปัญหาที่มุ่งแก้ปัญหา
บุคคลที่มีความคิดตรงไปตรงมา ไม่หลีกหนี มีการวิเคราะห์และกระทำเป็นขั้นตอน
การเผชิญปัญหาแบบมุ่งปรับอารมณ์
บุคลที่มุ่งลดความไม่สบายใจ ไม่ได้จดการปัญหาให้หมดไป เป็นเพียงวิธีการบรรเทาปัญหา
ประเมินสถานการใหม่ทางบวก
ควบคุมตนเอง
แสวงหาการเกื้อหนุนทางสังคม
แสดงความรับผิดชอบต่อปัญหา
หลีกเลี่ยงปัญหา
ถอยห่าง
ค้นหาสาเหตุของความเครียด
หาวิธีผ่อนคลาย
สนับสนุนให้มีการเข้าร่วมกิจกรรม
ขอคำปรึกษาจากผู้เชี่ยวชาญ
มองโลกในแง่ดี
ความเครียด
อาการแสดงของภาวะเครียดทางร่างกาย
นอนไม่หลับ รับประทานอาหารไม่อร่อย ปวดกล้ามเนื้อ
ปสสาวะบ่อย วิตกกังวล ท้อแท้ อ่อนล้า หลงลืม ซึมเศร้า
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเครียดในผู้สูงอายุ
การเปลี่ยนแปลงตามวัย
การที่ต้องรับภาระในการดูแลบุตรหลาน
การดูแลคู่สมรสหรือบุคคลที่ใกล้ชิดเจ็บป่วยเรื้อรังหรือเสียชีวิต
สัมพันธภาพระหว่างเพื่อนลดลง
การเกษียณอายุราชการ
สถานภาพทางสังคมลดลง
ความหมาย
ผลจากความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับสิ่งแวดล้อมโดยบุคคลเป็นผู้ประเมินด้วยสติปัญญาว่าแหล่งประโยชน์ที่ตนเองจะใช้ต่อต้านได้และรู้สึกว่าถูกคุกคาม
การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
แนวปฏิบัติในการส่งเสริมการออกกำลังกายในผู้สูงอายุ
การออกกำลังกายไม่ใช่อุปสรรค
สามารถกระทำได้หลากหลายวิธี
ออกกำลังกายอย่างน้อย 30 นาที เกือบทุกวันของสัปดาห์
ถ้าเป็นไปได้ให้ทำ vigorous physical activit บางครั้ง
การประเมินความพร้อมด้านร่างกาย
ความเสี่ยงต่อการออกกำลังกายจากโรคเรื้อรัง
การรับประทานอาหารอย่างเพียงพอ
ประวัติการได้รับยา
การเตรียมร่างกายก่อนออกกำลังกาย
ประโยชน์ของการออกกำลังกาย
การก้าวเดินมีความมั่นคงมากขึ้น
การมีส่วนร่วมกับสงคมมากขึ้น
เพิ่มความคล่องแคล่ว ว่องไว
เพิ่มความแข็งแรง ลดไขมันไม่ดี
ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรค
หลักการออกกำลังกาย
ความแรงในการออกกำลังกาย
ควรเพิ่มความแรงของการออกกำลังกายทีละน้อย
ความถี่ในการออกกำลังกาย
ขึ้นกับการออกกำลังกายแต่ละชนิด
ออก 3-5 ครั้ง/สัปดาห์
ควรใช้เวลาประมาณ 30 นาทีในแต่ละวัน
ชนิดของการออกกำลังกาย
Aerobic activities ช่วยส่งเสริมให้ทนต่อการหายใจและหัวใจ
Resistance activities ช่วยให้มวลกล้ามเนื้อแข็งแรง
Flexibility activity ช่วยความยืดหยุ่นกล้ามเนื้อ
Balance activities ช่วยมีการทรงตัวที่ดีขึ้น
Regular Physical activity
การเคลื่อนไหวทั้งหมดของร่างกายที่เกิดจากการทำงานของอวัยวะต่างๆโดยต้งใจหรือไม่ต้งใจก็ตามอย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์
นันทนาการเพื่อผู้สูงอายุ
กิจกรรมนันทนาการที่มีประโยชน์ด้านจิตใจ
ส่งเสริมการรับรู้ เวลา สถานที่
ส่งเสริมความภาคภูมิใจ
ส่งเสริมความพึงพอใจและความสนุกสนาน
ระบายความคับข้องใจ
กิจกรรมนันทนาการที่มีประโยชน์ด้านสังคม
ส่งเสริมการแสดงออกทางสังคม
ส่งเสริมการมีปฏิสัมพันธ์ในสังคม
กิจกรรมนันทนาการที่มีประโยชน์ด้านร่างกาย
ส่งเสริมความแข็งแรง การประสานสัมพันธ์ของร่างกาย
ส่งเสริมประสิทธิภาพการทรงตัว
ส่งเสริมความอ่อนตัวเเละผ่อนคลาย
กิจกรรมนันทนาการที่มีประโยชน์ด้านสติปัญญา
ส่งเสริมทกษะการสื่อความหมาย
ส่งเสริมความรู้และประสบการณ์
ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า
ประเภทและลักษณะนันทนาการสำหรับผู้สูงอายุ
การปลูกต้นไม้ การท่องเที่ยว
งานศิลปะหัตถกรรม และงานประเพณีวัฒนธรรม
เกมส์ ส่งเสริมความเคลื่อนไหว
การทำอาหาร
ออกกำลังกายและกีฬา
การร้องเพลงเล่นดนตรี เต้นรำ และการแสดง
การเขียน อ่าน สนทนา โต้วาที
กิจกรรมทางศาสนา
แนวคิดการนำนันทนาการมาใช้ในการพยาบาลผู้สูงอายุ
ลดความรู้สึกโดดเดี่ยว
ใช้ทฤษฏี การมีกิจกรรมส่วนร่วม
นำเสนอผ่านกระบวนการที่สร้างความสุข
ทำให้ผู้สูงอายุเกิดพลังใจ
กระบวนการพยาบาล
6.การดำเนินกิจกรรมนันทนาการ สร้างความสนุกสนาน เพลิดเพลิน
1.ประเมิน ข้อมูลพื้นฐานและภาวะจิตสังคม
2.วางแผนการพยาบาล กำหนดวัตถุประสงค์และเลือกกิจกรรม
3.จัดเตรียมอุปกรณ์ สภาพเหมาะสมและปลอดภัย
4.จัดเตรียมสถานที่ ให้มีความปลอดภัยสะดวกและเหมาะสม
5.จัดเตรียมทีมกิจกรรมนันทนาการ แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ ประชุมก่อนและหลังทำกิจกรรม
โภชนาการสำหรับผู้สูงอายุ
ความต้องการสารอาหารของผู้สูงอายุ
จำกัดไขมันไม่เกินร้อยละ 30 เน้นไขมันจากพืช
มีความต้องการพลังงานลดลง
คาร์โบไฮเดรตร้อยละ 50-60
ผู้ที่ไม่มีความผิดปกติของตับและไตต้องการโปรตีน 1-1.2 กก./วัน
ความต้องการสารอาหารของผู้สูงอายุ
พลังงาน
ไม่เกินวันละ 2,250 และ 1,850 กิโลแคลอรี่
โปรตีน
1กรัม/น้ำหนกตัว 1 กิโลกรัมต่อวัน เช่น เนื้อสัตว์
ดื่มนมอย่างน้อยวันละ 3 แก้ว ไข่ไก่lสัปดาห์ละ 3 ฟอง โปรตีนจากพืช เช่น ถั่วเหลือง
ไขมัน
คาร์โบไฮเดรต
วิตามินและเกลือแร่
วิตามิน ได้แก่ วิตามินเอ วิตามินดี วิตามินอี วิตามินเค วิตามินซี วิตามิน B1,B2,B3,B6,B12 เกลือแร่ ได้แก่ โฟเลท เเคลเซียม เหล็ก สังกะสี
พลังงานจากคาร์โบไฮเดรต มาจาก ข้าว ก๋วยเตี๋ยว ขนมปังและไม่รับประทานน้ำตาลมากเกินร้อยละ 10
ลดไขมันอิ่มตัวและคอลเลสเตอรอลในอาหาร เช่น น้ำมันหมู เนย เนื้อหมู,วัว น้ำมันปาล์ม ไข่ปลา หอยนางลม
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุ
สภาวะทางจิตใจ และ ภาวะโภชนาการเดิมและบริโภคนิสัย
ความรู้ด้านโภชนา ภาวะสุขภาพและโรคประจำตัว
การเปลี่ยนแปลงในวัยสูงอายุ ภาวะเศรษกิจและสังคม
การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกายต่อภาวะโภชนาการ
ตามองไม่เห็น การบีบตัวของลำไส้ลดลง การรับรู้รสชาติเสื่อม การไหลเวียนเลือดที่ตับลดลง
ฟันผุ การหลั่งกรดในกระเพาะลดลง การหลั่งน้ำย่อยจากตับอ่อนลดลง
ภาวะทุพโภชนาการ
ปัจจัยเสี่ยง
การได้รับอาหารที่จำเป็นไม่เพียงพอทำให้น้ำหนักลดลง
ความผิดปกติของการดูดซึมและการนำสารอาหารไปใช้
ดัชนีมวลกายน้อยกว่า 18.5 kg/m2
หลักการจัดอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
รับประทานไข่วันละ1ฟองหรือวันเว้นวัน เนื้อสัตว์อื่นๆปรุงให้เปื่อยหรือสับให้ละเอียด
ลดอาหารประเภทพลังงานลง ได้แก่ ไขมัน คาร์โบไฮเดรต และอาหารประเภทให้พลังงานสูง เช่น เค้ก ขนมหวาน
ใช้น้ำมันถั่วเหลืองในการปรุงอาหาร
ลดการดื่มเหล้า สูบบุหรี่ และชา กาแฟ
ควรได้รับน้ำอย่างน้อยวันละ 1,500 ml
จัดอาหารให้น่ารับประทาน มีสีสัน รวมถึงการอุ่นอาหารให้เกิดความอยากมากยิ่งขึ้น
การนอนหลับในผู้สูงอายุ
ผลกระทบเนื่องจากปัญหาการนอนหลับของผู้สูงอายุ
เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ
ลดความทรงจำ ขาดสมาธิ ตอบสนองต่อสิ่งเร้าช้า
ระบบภูมิคุ้มกันทำหน้าที่ลดลง
ง่วงซึม อ่อนเพลีย ไม่แจ่มใส
ความดันโลหิตสูงขึ้น
ความสามารถในการทำกิจกรรมลดลง
วงจรการนอนหลับ
NREM
ระยะที่ 1
หลับตื้น ตื่นง่ายและบ่อยอัตราการหายใจช้าลง
ระยะที่ 2
ระยะผ่อนคลาย ไม่มีการกลอกตา
ระยะที่ 4
ระยะหลับสนิทที่สุดนับจากระยะที่ 1 มา 40 นาที มีการหลั่ง growth hormone ปสสาวะรดที่นอน กรน ฝันเปียก ระยะที่ 3,4 ของผู้สูงอายุจะลดลง
ระยะที่ 3
ระยะหลับสนิทเริ่มจากการนอนประมาณ 30-45 นาที ปลุกตื่นยาก
REM
ระยะที่มีการกลอกตาไปมาอย่างรวดเร็ว
เริ่มขึ้นเมื่อมีการนอนหลับ 90-100 นาที ปลุกได้ยากกว่าระยะอื่นๆ อัตราการหายใจเพิ่มขึ้น เป็นระยะที่ฝันเป็นเรื่องราว การหลับระยะนี้มีประโยชน์ต่อการส่งเสริมความจำและการรับรู้
ปัจจัยรบกวนการนอนหลับในผู้สูงอายุ
ด้านสิ่งแวดล้อม
เสียงควรไม่เกิน 50 เดซิเบล , อุณหภูมิ ควรอยู่ที่ 23.9-27
แสงไม่ควรเกิน 2,000 ลัคซ์ ทำให้การนอนหลับลดลง , กลิ่น เพื่อนร่วมห้อง แมลง
ด้านร่างกาย
ความสูงอายุ
ความเจ็บปวด
ความไม่สุขสบาย
การขับถ่ายปัสสาวะ
การหายใจลำบาก
อาการไอ
การกระตุกของแขนขาขณะนอนหลับ
ยา
บุหรี่
แอลกอลฮอล์
ด้านจิตใจและอารมณ์
ความวิตกกงวล อารมณ์เศร้า อารมณ์เครียด
การนอนหลับและคลื่นไฟฟ้าสมอง
การรู้สึกตัวและการตอบสนองต่อสั่งเร้าลดลง อาจมีการละเมอพูด คลื่นไฟฟ้าขณะนอนหลับและตื่นต่างกัน
ปัญหาการนอนไม่หลับในผู้สูงอายุ
นอนหลับมากกว่าปกติ
การพยาบาล
ให้เข้านอนและตื่นนอนตรงเวลาทุกวัน ลดการนอนกลางวันเหลือเพียงวันละ 30 นาที
เน้นเรื่องความรู้สึกเพียงพอในการนอนหลับ
งดออกกำลังกายก่อนนอนหนักๆ
จัดสิ่งแวดล้อมเพื่อป้องกันอุบัติเหตุ พื้นราบ ไม่ควรมีบันไดมากเกินความจำเป็น ทำราวที่มีวัสดุแข็งแรง
ให้ข้อมูลผลกระทบต่อชีวิตประจำวัน สุขกายและจิต และการใช้ยานอนหลับ
นอนหลับไม่เพียงพอ
การพยาบาล
สังเกตเรื่องการนอน การตื่น อาการนอนหลับไม่เพียงพอ
การสัมภาษณ์ครอบครัวผู้สูงอายุถึงสาเหตุการนอนไม่หลับ
ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงลักษณะการนอน
ทำความสะอากร่างกาย ปาก ฟันและการถ่ายปัสสาวะก่อนเข้านอน
ให้เข้านอนและตื่นนอนตรงเวลาทุกวัน งดเครื่องดื่มที่มีคาแฟอีน
นวผ่อนคลายกล้ามเนื้อ นอนนับลมหายใจและงดออกกำลังกายก่อนนอนอย่างน้อย 3 ชม.
ลดการงีบหลับในช่วงกลางวันและจัดสิ่งเเวดล้อม เช่น เปิดไฟสลัว และงดใช้สียงดัง