Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 6 การประเมินภาวะสุขภาพและการบันทึกการพยาบาลตามปัญหาสำคัญที่พบในผ…
หน่วยที่ 6
การประเมินภาวะสุขภาพและการบันทึกการพยาบาลตามปัญหาสำคัญที่พบในผู้สูงอายุ
การค้นหาปัญหา/การหาแหล่งประโยชน์
ทราบปัญหาความต้องการที่แท้จริงของผู้สูงอาายุ
บำบัดรักษา/เพิ่มความสามารถในการทำหน้าที่
จัดสิ่งแวดล้อม/สถานที่ได้อย่างเหมาะสม
เฝ้าระวังการเปลี่ยนแปลง
ลดการเข้ารับการรักษาใรนโรงพยาบาล
กระบวนการประเมินผู้สูงอายุ
จัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม
นั่งตรงข้ามผู้ส๘ูงอายุในระดับสายตา
พูดชัดเจน ระดับเสียงพอสมควร
รับฟังคำตอบอย่างตั้งใจ
ใช้เทคนิคสะท้อนกลับ
ไม่ใช้อคติ
ระยะเวลาไม่เกิน 30 นาที
มีทักษะในการใช้เครื่องมือในการประเมิน
FANCAPES model
F
Fuids
A
Aeration
N
Nutrition
C
Communication
A
Activity
P
Pain
E
Elimination
S
Socialization and Social Skill
มิติในการประเมิน
Physical assessment
การซักประวัติ
ข้อมูลทั่วไปของผู้สูงงอายุ
การประเมินภาวะโภชนาการ >> BW, Mini Nutritional Assessment
มีภาวะโภชนาการปกติ >> 12-14
เสี่ยงต่อการขาดสารอาหาร >> 8-11
ขาดสารอาหาร >> 0-7
การหกล้ม >> fall assessment
การประเมินท่าเดิน >> time up and go test
ประเมินเพื่อดูการทรงตัว
การมองเห็น >> Visual acuity
การประเมินความบกพร่องทางการได้ยิน
ทำด้วยการสสังเกตการพูดคุย
การตรวจร่างกายโดยใช้ whisper-voice test
การประเมินความบกพร่องการนอนหลับ
อาการที่พบบ่อย
ใช้เวลานานในการทำให้หลับ
นอนหลับไม่สนิท
ตื่นเร็วกว่าปกติ หรือตื่นขึ้นมาไม่สดชื่น
การจรวจร่างกาย
Functional Assessment
ความสามารถในการทำหน้าาที่และปฏิบัติกิจกรรม โดยเป็นการผสมผสานความสามารถด้านร่างกาย จิตใจ และการรู้คิด สติปัญญา
การประเมินความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันพื้นฐาน (Basic Activities of Daily Living : BADL)
Barthel ADL Index
12 คะแนนขึ้นไป
พึ่งตนเองได้ ช่วยเหือผู้อื่น ชุมชนและสังคมได้
5-11 คะแนน
ดูแลตนเองได้บ้าง ช่วยเหลือตนเองได้บ้าง
0-4 คะแนน
พึ่งพาตนเองไม่ได้ ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ พิการ หรือทุพพลภาพ
การประเมินความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันต่อเนื่อง (Instrument Activities of Daily Living : IADL)
The Chula Activities of Daily Living Index
การประเมินภาวะซึมเศร้า
การประเมินโดยใช้ 2Q
ถ้าตอบมีข้อใดข้อหนึ่งใน 2 ข้อ
ใช้ 9Q ประเมินต่อ
Thai Geriatric Depression Scale: TGDS
แบบทดสอบสภาพจิตจุฬา (Chula Mental Test: CMT)
Mental and Cognitive Assessment
เป็นการประมเินการรับรู้เวลา สถานที่และบุคคล การคำนวณ การมีสมาธิและการตัดสินใจ
3 word recall
จำวัตถุ 3 สิ่งที่ไม่สัมพันธ์กัน แล้วถามซซ้ำใน 3-5 นาที ควรจำได้ 2 สิ่ง
หากพบความผิดปกติ ให้ใช้แบบประเมินมาตรฐานมาประเมินซ้ำ
Digit Span Test
ให้นับเลขไปข้างหน้าและถอยหลัง ซึ่งผู้ที่มีภาวะสับสนเฉียบพลันจะทำไม่ได้
แบบทดสอบสภาพสมองเบื้องต้นฉบับภาษาไทย (MMSE-THAI 2002)
Social Function Assessment
ลักษณณะครอบครัว
สัมพัธภาพในครอบครัว
พฤติกรรมความเชื่อด้านสุขภาพ
ภาวะเศรษฐกิจขของผู้สูงอายุและครอบครัว
เครือข่ายการสนับสนุนทางสังคม
แหล่งประโยชน์และระบบบริการที่ผู้สูงอายุและครอบครัวเข้าถึง
กาารประเมินสิ่งแวดล้อม
ความเพียงพอของแสงสว่างในที่อยู่อาศัย
ความเหมาะสมของบันไดและทางเดิน
การจัดวางเฟอร์นนิเจอร์ที่ส่งผลต่อความปลอดภัย
ลักษณะพื้นบ้านและห้องน้ำ รวมมภึงอุปกรณ์ช่วยเหลือ
ความปลอดภัยของบ้านและสิ่งแวดล้อม
ความเหมาะสมของสิ่งแวดล้อมเพื่อการส่งเสริมการดำรงชีวิตได้อย่างอิสระ
การบันทึกการพยาบาลตามปัญหาที่พบในผู้สูงอายุ
แบบบันทึกวิถีการโคจรความเจ็บป่วยของผู้สูงอายุ (Aging Illness Trajectory)
ก่อนเข้ารับการักษาในโรงพยาบาล
ขณะอยู่ในโรงพยาบาล
แบบบันทึกการประเมินการพยาบาลผู้สูงอายุ
Giants Geriatric Problem