Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมของบุคคลแต่ละวัย, image, image, image - Coggle Diagram
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมของบุคคลแต่ละวัย
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมในวัยเด็กและวัยรุ่น
กัมพูชา
การเลี้ยงดู จะเลี้ยงดูจนกว่าอายุประมาณ2-4ปี อายุ5ปี จะช่วยดูแลน้องๆ อายุ7-8ปีไปโรงเรียน อายุ10ปี เด็กหญิงช่วยงานบ้าน เด็กผู้ชายช่วยงายไร่นา
สังคม วัยรุ่นจับกลุ่มในเพศเดียวกัน เด็กผู้ชายบางคนบวชเป็นสามเณร ในยุคก่อนคอมมิวนิสต์ พ่อแม่มีอำนาจปกครองจนกว่าบุตรจะแต่งงาน การติดต่อระหว่างกลุ่มชนอายุต่างกัน จะต้องเลือดใช้คำพูดที่เหมาะสม
การเกิด เป็นอันตรายทั้งต่อแม่และเด็ก หญิงตั้งครรภ์จึงควรระวัง สตรีที่ตายจากการคลอดบุตร เชื่อว่าเกิดจากการกระทำของปีศาจ
ทางการแพทย์ ให้การเคารพแพทย์ เพราะเป็นบุคคลที่อยู่ในชั้นสูงกว่า เวลาผู้ป่วยคุยกับแพทย์จะก้มหน้าไม่สบตา
ศีรษะเป็นส่วนที่สำคัญที่สุด ผู้ให้บริการด้านสุขภาพไม่ควรแตะศีรษะผู้ป่วยก่อนได้รับอนุญาตจากผู้ป่วยเองหรือจากบิดามารดาของผู้ป่วยเด็ก
ประเทศจีน
อดีต มีนโนบายลูกคนเดียว One child policy ต้องการมีลูกชายไว้สืบสกุล เพราะมีลูกได้ 1คน เพิ่มอัตราการทำแท้ง/ฆ่าทารกเพศหญิง อัตราการเกิดทารกเพศชายเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
ปัจจุบัน ปรับนโยบายมีลูกคนที่2ได้ เพื่อแก้ปัญหาโครงสร้างประชากรในระยะยาว
พิธีล้าง วันอาบน้ำครั้งแรกตั้งแต่คลอด มีน้ำที่ใช้อาบ เรียกว่า ฉางโซ่วทัง มีความหมายว่า น้ำอายุมั่นขวัญยืน หญิงที่มีบุตรยาก จะเอาน้ำที่อาบให้เด็กมาอาบตัว เชื่อว่าช่วยให้สามารถมีบุตรได้
พิธีครบเดือน หรือ เรียกว่า หมีเย่ว์ พิธีกรรมเกี่ยวกับการเกิดที่สำคัญที่สุด (โกนผมไฟ+จัดเลี้ยงในหมู่ญาติ มิตรสหาย+ตั้งชื่อให้เด็ก)
กรณีเด็กคนแรกในครอบครัว/เด็กเกิดจากพ่อแม่อายุมาก
เชื่อว่า ใบชาเขียวช่วบฆ่าเชื้อโรคบนศีรษะ ลบรอยแผลเป็น และทำให้ผมเด็กดกดำ
เหลือผมเป็นรูปสี่เหลี่ยมบริเวณโคนหน้าผาก และท้ายทอยจะเหลือผมไว้หนึ่งปอย
ผู้ที่จะโกนผม เอาใบชาที่อมจนเปื่อยในปาก ชโลมลงบนศีรษะเด็ก
ผมที่โกนจะไม่ทิ้ง นำมาสานเป็นแผ่น เพื่อนำไปวางไว้หัวเตียงเด็ก/เย็บติดกับเสื้อเด็ก เพื่อปัดเป่าสิ่งชั่วร้ายและคุ้มครองให้แคล้วคลาดภยันตราย
อา จะอุ้มเด็กให้นั่งตรง เริ่มโกนผมพร้อมการจุดประทัด
ประเทศไทย
ความเชื่อเกี่ยวกับความเจ็บป่วยของเด็กได้รับอิทธิพลจากสังคมรอบข้าง
ศาสนาอิสลาม
มารดาต้องดูแลบุตรตั้งแต่ในครรภ์จนถึงวัยผู้ใหญ่หรืออายุ21ปี
ต้องดูแลเด็กให้เป็นเด็กดีของสังคม ทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ
เป็นของขวัญจากองค์อัลลอฮ์ เป็นสิ่งที่มีคุณค่า
ศาสนาคริสต์
เป็นของขวัญจากพระเจ้า ต้องดูแลให้เติบโตในทางที่ดี
ต้องเข้าพิธีบัพติศมา เพื่อชำระบาปและประกาศตัวเป็นศาสนิกชิน
ทุกคนเป็นบุตรของพระเจ้า มีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์เท่าเทียมกัน
นิกายพระเยโฮวา:ปฏิเสธรับเลือด แม้จะมีอันตรายถึงชีวิต
ยังไม่บรรลุนิติภาวะ บิดามาราดาสามารถตัดสินในการรักษาพยาบาล แพทย์สามารถดำเนินการรักษาได้จนกระทั่งเด็กบรรลุนิติภาวะ
ศาสนาพุทธ
พิธีที่มักกระทำ เพื่อให้เด็กมีสุขภาพดีไม่เจ็บป่วย(เมื่ออายุครบ1เดือน) พิธีการสู่ขวัญ โกนผมไฟ
พิธีมักกระทำเมื่อเด็กไม่สบายหรืองอแง ให้ผู้ใหญ่ผูกข้อมือ บางครอบครัวในอำเภอเมืองน่านและอำเภอกระนวน มีพิธีสู่ขวัญ เพื่อให้เด็กหยุดร้องไห้ งอแงและอยู่ดีมีสุข
ถ้าเด็กร้องไห้ในช่วงอายุ2หรือ3เดือน จะทำพิธีหาพ่อเกิดแม่เกิดโดยผู้อาวุโสในชุมชน(ปัจจุบันปรากฏให้เห็นน้อยลง)
ความเชื่อการดูแลเด็ก
ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คล้ายคลึงกับประเทศลาว
รักษาความเจ็บป่วยด้วยอำนาจเหนือธรรมชาติ
พิธีกรรม:สะเดาะเคราะห์ ผูกข้อมือเรียกขวัญ บูชาบวงสรวง เพื่อให้เกิดความหวังและกำลังใจในรายที่การเจ็บป่วยสาหัต
รักษาตามอาการจากแพทย์พื้นบ้าน
ใช้สมุนไพร ประคบน้ำมัน
รักษาแบบผสมผสาน
ใช้สมุนไพร+วิธีการรักษาอื่ย(น้ำมนต์ ผูกข้อมือ) ,อำนาจเหนือธรรมชาติ/แพทย์พื้นบ้าน+แพทย์แผนปัจจุบัน
ปัจจุบัน หากเจ็บป่วยเล็กน้อยผู้ปกครองส่วนใหญ่ ซื้อยาให้รับประทานเอง หากอาการรุนแรงเจ็บป่วยเรื้อรังจะไปโรงพยาบาล
ภาคเหนือ
น้ำนม
ใช้น้ำนมของคนทาศีรษะของเด็กทารกผมบาง ทำให้ผมดกหนาขึ้น ,ใช้น้ำนมหยอดตาคนเป็นโรคตาแดง ทำให้หายจากอาการตาแดง
เม่า
โรคในเด็กทารกช่วงกินนม/ อาการผิวหนังบริเวณรอบริมฝีปาก+ลิ้น มีลักษณะพุพอง ทำให้เด็กรู้สึกปวดแสบแล้วร้องไห้ /การรักษา พ่อแม่จะนำกรวยดอกไม้ไปเสียบที่ข้างฝา/หลังคาบ้านประมาณครึ่งวันแล้วนำกราวยดอกไม้มาทำพิธีเสกเป่าอีกครั้ง ทำทุกวันจนกว่าเด็กจะหาย
จกคอละอ่อน
แม่ช่าง(หมอตำแย)หรือหมอทำคลอด ใช้นิ้วมือล้วงเข้าไปในลำคอของทารกแรกคลอด เพื่อเอาเสลด/เลือดที่ติดค้างออกมา
ถ้าไม่ทำเช่นนี้เมื่อโตขึ้นเด็กจะเป็นโรคหอบหืดได้
รก
หลังคลอดหากรกไม่ออกตามมา ให้ระวังขึ้นปิดลิ้นปี่ เด็กหายใจไม่ออก + เสียชีวิตได้ ให้หมอเวทมนตร์เสกคาถาสะเดาะเคราะห์ใส่น้ำ ให้แม่เด็กดื่ม เพื่อบังคับให้รกออก
การประยุกต์ใช้การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมในการดูแลเด็ก
เข้าใจ+ยอมรับ ความเชื่อ วัฒนธรรม ศาสนา ของผู้รับบริการ ให้การพยาบาลได้สอดคล้องกับความเชื่อด้านสุขภาพและวัฒนธรรมของผู้รับบริการ ป้องกันการเกิดความขัดแย้งจากความแตกต่างทางวัฒนธรรมของผู้รับบริการ
ศึกษาวัฒนธรรมของผู้ป่วยและครอบครัว เข้าใจให้การพยาบาลสอดคล้องกับวัฒนธรรม
บุคลากรทางด้านสุขภาพต้องตระหนักถึง ความเชื่อ วัฒนธรรม ศาสนา
การปฏิบัติการพยาบาล
วินิจฉัยการพยาบาล
วางแผนการพยาบาล
ปฏิบัติการพยาบาล
ประเมินผลการพยาบาล
ประเมินปัญหา
การสื่อสาร พัฒนาทักษะการสื่อสารพัฒนาการของเด็กและผู้ดูแล ด้วยภาษาง่ายๆ หากสื่อสารไม่ได้หรือไม่มีประสิทธิภาพให้สื่อสารผ่านญาติที่สื่อสารได้ หรือใช้ล่าม รูปภาพสื่อสารแทนภาษาพูด คู่มือ หรือแนวทางการดูแลเด็กป่วยของครอบครัวที่เป็นภาษาต่างประเทศ
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมของบุคคลวัยผู้ใหญ่
หญิงตั้งครรภ์ชนเผ่าม้ง
ให้ดื่มน้ำมะพร้าวเมื่ออายุครรภ์ ~7-8 เดือนจะทำให้ลูกไม่มีไข คลอดง่าย และผิวสวย ให้กินแกงผักปรัง (ผักพื้นบ้าน) มีลักษณะลื่นๆ ทำให้คลอดไม่ลำบาก
ข้อพึงปฏิบัติตามความเชื่อ
หัวปลาไหลแห้ง+ ผักปลังดิน+ ใบหนาด มัดรวมกัน แช่น้ำและอาบทุกวัน เมื่อท้องแก่ใกล้คลอด -->ทำให้คลอดง่าย หากท้องแก่ใกล้คลอด เอานํ้ามันละหุ่ง ทาถูหน้าท้อง ลูกเกิดมาจะได้ตัวสะอาด ไม่มีไข คลอดง่าย
คลอดที่บ้านเป็นส่วนใหญ่ เพราะเป็นความเชื่อและปฏิบัติสืบต่อกันมา (ปัจจุบันบางคนคลอดในโรงพยาบาลแต่ก็มีส่วนน้อย)
การปฏิบัติตัวหญิงชนเผ่าม้ง หลังคลอด
ใช้ผ้ารัดหน้าท้องให้แน่น-->เพื่อไม่ให้ท้องโต
รับประทานพวกไก่ ไข่ ~30 วัน
ไข่+ พริกไทยบำรุงร่างกาย, ขับนํ้าคาวปลา และเลือดที่ค้างในร่างกาย -เวลาต่อมา ทานเนื้อหมูได้ อยู่ไฟ~1 เดือน --> แม่สุขภาพดี แข็งแรง และช่วยให้มดลูกเข0าอูCเร็ว - ก่อกองไฟไว้ข้างเตียงตลอดเวลา จะใช0น้ำที่ต0มอาบตลอดช่วงที่อยู่ไฟ พิธีบนผี/ทำผี (เมื่ออยู่ไฟครบ)--> คุ้มครองเด็กก่อนพาออกบ้านหรือเดินทางไกล
วัยผู้ใหญ่แบ่งออกเป็น3ระยะ
วัยผู้ใหญ่ตอนกลางหรือวัยกลางคน
ผ่านชีวิตครอบครัวและการ ทำงานมาระยะหนึ่ง มีความมั่นคงและความสำเร็จในชีวิต
วัยผู้ใหญ่ตอนปลายหรือวัยสูงอายุ
มีความเสื่อมถอยของร่างกาย จิตใจ และบทบาททางสังคม การปรับตัวต่อความเสื่อมถอย และการเผชิญชีวิตในบั้นปลาย เป็นสิ่งสำคัญในการดำรงชีวิต ของวัยนี้
วัยผู้ใหญ่ตอนต้น หรือวัยหนุ่มสาว
มีพัฒนาการด้านร่างกาย วุฒิ ภาวะทางจิตใจและอารมณ์ อย่างเต็มทีเลือกแนวทางดำเนินชีวิตของ ตนเองอย่างมีความหมาย: อาชีพ,คู่ครอง, ความสัมพันธ์กับบุคคลต่าง ๆ
ชาวจีน
ถ้าร่างกายแข็งแรงไม่จำเป็นต้องพบแพทย์
ไม่สนใจการตรวจคัดกรองเพื่อป้องกันโรค
การใช้การรักษาดั้งเดิม (Traditional treatments)
รักษาด้วยการแพทย์แผนจีน เช่น การฝังเข็ม, การนวด การขูดผิวหนัง(เชื่อว่าขับสารพิษที่ก่อโรคออก จากร่างกายผ่านทางผิวหนัง)
การใช้สมุนไพร เพื่อการบำบัดโรค
ผลดีและผลไม่พึงประสงค์คล้ายกับแพทย์แผนปัจจุบัน อาจมีปฏิกิริยาต่อยารักษาของแพทย์แผนปัจจุบัน อาจถูกอาหารบางชนิดรบกวนการออกฤทธิ์ได้
แนวทางการดูแลผู้ใช้บริการ
ศึกษาวัฒนธรรมของชาว จีนในด้านต่างๆพัฒนาทักษะการสื่อสาร กับผู้ใช้บริการชาวจีน การพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
อิสลาม
ผู้ป่วยที่ไม่สามารถทำความสะอาดได้ ให้ทำความสะอาดเท่าที่จะกระทำได้ การละหมาดของเขาก็ใช้ได้ โดยไม่ต้องละหมาดชดใช้อีก
ผู้ป่วยที่มีนะญิส
แนะนำผู้ป่วยทำความสะอาดบริเวณดังกล่าว ตามปกติ หรือตามคำแนะนำของแพทย์การอาบน้ำละหมาดนั้นไม่เสีย แต่จะต้องอาบน้ำ ละหมาดหรือตะยัมมุม (ทำความสะอาดร่างกาย ด้วยฝุ่นแทนน้ำเพื่อเตรียมตัวละหมาด) ทุกครั้ง ก่อนที่จะละหมาดตราบใดที่ยังมีสติ ครบ เงื่อนไขที่จำเป็นต้องละหมาด จะต้องทำการละหมาดตามความสามารถ ภายใต้การผ่อนปรนตามหลักการของศาสนา
ผู้ป่วยสามารถทำความสะอาดได้ อาจทำด้วยตนเอง หรือให้คนอื่นช่วย ก็ให้ทำความสะอาดปกติก่อนจะอาบน้ำละหมาดในแต่ละเวลา
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมของบุคคลสูงอายุ
แถบประเทศตะวันตก: ให้ความสำคัญความเป็นบุคคลและการมีอิสระในการดำเนินชีวิต
ประเด็นที่ควรพิจารณาในการพยาบาลข้ามวัฒนธรรมในผู้สูงอายุ
การเคารพนับถือความเป็นบุคคลของผู้สูงอายุ
การจัดสิ่งแวดล้อมและป้องกันอุบัติเหตุ
การดูแลด้านจิตสังคม
สุขภาพและยาที่ใช้
ความสามารถในการเคี้ยวและกลืน
การสื่อสาร
การดูแลด้านจิตวิญญาณตามความเชื่อของผู้สูงอายุ
แถบตะวันออก: มีความต้องการพึ่งพาลูกหลานและครอบครัว
ประเด็นสำคัญที่ควรพิจารณา :ที่มีความแตกต่างกัน “คุณค่า + ความเชื่อ ของผู้สูงอายุ”
ประเด็นคล้ายคลึงกัน : - ผู้สูงอายุต้องการความเคารพในการเป็นผู้สูงวัยหรือผู้นำในครอบครัว - ความสามารถทางกายภาพ สิ่งแวดล้อม โครงสร้างทางสังคม
การมีส่วนร่วมและคุณค่าในสังคม