Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัญหาทางจิตที่จัดเป็นจิตเวชฉุกเฉิน - Coggle Diagram
ปัญหาทางจิตที่จัดเป็นจิตเวชฉุกเฉิน
อาการเพ้อ (Delirium)
พบในกลุ่มอาการทางสมองเฉียบพลัน มีภาวะสับสน
การรับรู้วันเวลา สถานที่ บุคคลบกพร่อง มีหลงผิด ประสาทหลอน
การพยาบาล
แยกผู้ป่วยในที่สงบ ดูแลอย่างใกล้ชิด
จำกัดคนเข้าเยี่ยมเพื่อไม่ให้รบกวนผู้ป่วย
ผู้ได้รับสารพิษจากสุรา
(Delirium Tremens)
เป็นภาวะแทรกซ้อนทางจิตจากการดื่มสุราเป็นเวลานานแล้วหยุดดื่มทันที
อาการ
หงุดหงิด ฉุนเฉียว กระวนกระวายใจ เบื่ออาหาร ใจสั่น นอนไม่หลับ ฝันร้าย ประสาทหลอน เป็นต้น
การพยาบาล
จัดสิ่งแวดล้อมอากาศถ่ายเท
จำกัดคนเยี่ยมในระยะเฉียบพลับ
ป้องกันการทำร้ายตนเองและผู้อื่น
ดูแลให้ได้รับสารน้ำอิเล็คโตรไลท์
Violent patient
พฤติกรรมที่พบ
หงุดหงิด รำคาญ ขาดความอดทน อยู่นิ่งไม่ได้
ท่าทางแสดงออกถึงความไม่เป็นมิตร ไม่พอใจ เงียบเฉยผิดปกติ
ปฏิเสธความจริง มีความกลัว วิตกกังวลสูง
มีความคิดอาฆาต ผูกพยาบาท
ซึมเศร้า ทำร้ายตนเอง หรือฆ่าตัวตาย
ผู้ใช้สารอนุพันธ์ฝิ่น(Opiate)
อาการ
ง่วงซึมจนอาจหมดสติได้ ชีพจรและการหายใจช้า
ความดันโลหิตลด บางครั ้งหยุดหายใจ รูม่านตาหดตัว
การพยาบาล
Overdose ให้ Naloxone
Withdrawal ให้ Methadone
การฆ่าตัวตาย (Suicide)
การกระทำที่เป็นการทำลายชีวิตของตนเอง โดยเจตนาด้วยวิธีการต่างๆ
💢สัญญาณเตือนอันตราย
อารมณ์เปลี่ยนแปลงจากซึมเศร้าเป็นร่าเริงหรือตรงกันข้าม
พฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม
คำพูดที่แฝงความหมายเบื้องลึก เช่น “ถ้าผมตายไป ญาติๆ คงสบายใจขึน”
แววตาว่างเปล่า ท่าทีเงียบขรึม คอตก แยกตัวเอง
การพยาบาล
ดูแลด้านร่างกาย
• สังเกตอาการ และระวังการทำร้ายตัวเองซ ้า
• ให้ผู้ป่วยระบายความรู้สึก และรับฟัง
• จัดกิจกรรมที่สร้างสรรค์ เหมาะสมตามวัย
• สนับสนุนครอบครัวให้มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา
• ครอบครัวบำบัด
การประเมิน
มีประวัติการเจ็บป่วยทางจิตเวช โดยเฉพาะ
Schizophrenia และ Depression
ประวัติเกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยง
3.ถามความรู้สึก
อุปทานหมู่ (Mass Hysteria)
บุคคลตั้งเเต่ 1 คนขึ้นไปเกิดในกรณีกลุ่มบุคคลโดยมีความคิดเชื่อว่าตนเจ็บป่วยโรคเดียว
อาการ
ปวดศีรษะ มึนงง คลื่นไส้ปวดท้อง เกร็งท้อง อ่อนเพลียง่วง
เจ็บปวดในคอ หายใจลำบากหรือ หายใจหอบเร็ว
ชักเกร็งตัว เป็นลม หมดสติ
วิธีรักษา
เเยกผู้ป่วยคนเเรกออกจากกลุ่ม
ประเมินสภาพจิตใจร่วมกับสิ่งแวดล้อม
Hyperventilation
การพยาบาล
ยอมรับความเจ็บป่วยที่เกิดขึ้น
แนะนำการหายใจที่ถูกวิธี
ให้ระบายความรู้สึก
ค้นหาวิธีการเผชิญความเครียดที่เหมาะสม
ดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาคลายกังวล
Side Effect จากยา
การพยาบาล
ปลอบโยนผู้ป่วยให้คลายความกังวล
• อธิบายสาเหตุของการเกิดอาการ
• ระมัดระวังอุบัติเหตุ
• ให้ยาลดอาการ
การกระทำทารุณกรรม
ช่วยเหลือเด็กให้อยู่ในสถานที่ปลอดภัย
ดูแลบาดแผลทางร่างกาย
• ดูแลประคับประคองด้านจิตใจ Supportive Psychotherapy
ครอบครัวบำบัด
หาบ้านพักฉุกเฉินไว้สำหรับให้เด็ก
การปฏิบัติการพยาบาลจิตเวชในภาวะฉุกเฉิน
การจัดการต่อสถานการณ์ฉุกเฉินทางจิตเวช
วาจา : สร้่างสัมพันธภาพ, เปิดโอกาสให้ระบาย
ศักยภาพ : การผูกมัด
ข้อบ่งชี้
เอะอะโวยวาย สับสน ทำร้ายตนเอง
ข้อปฏิบัติ
อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจเหตุผลที่ต้องผูกมัด
ให้ผู้ป่วยนอนราบบนเตียง
ให้ผู้ป่วยสวมเสื้อผ้าให้เรียบร้อย
ควรมัดบริเวณข้อมือ ข้อเท้า และอยู่ในท่าที่สบายที่สุด
หมั่นไปดูผู้ป่วยทุก 15 นาที
ุ6.ไม่ควรผูกมัดผู้ป่วยนานเกิน 20 นาที
ดูเเลผิวหนังภายหลังการผูก
สิ่งเเวดล้อม :!:ลดการกระตุ้นจากสิ่งเเวดล้อม
การเข้าใจสถานการณ์ปัญหาและเป้าหมายของการช่วยเหลือ
ประเมินระดับการรับร
ช่วยเหลือตามความจำเป็น
ปลอดภัยเเละลดระดับความรุนเเรง
ข้อปฏิบัติในการช่วยเหลือ
ปกป้องผู้รับบริการ
พิจารณาสถานการณ์อย่างรวดเร็ว
ให้ผู้ป่วยระบายความรู้สึก
ควบคุมตนเองไม่ให้ตระหนก