Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เทคนิคการบริหาร การบริหารความเสี่ยง การเจรจาต่อรอง - Coggle Diagram
เทคนิคการบริหาร การบริหารความเสี่ยง การเจรจาต่อรอง
การเจรจาต่อรอง (Negotiation)
เจรจาแบบแข็ง
เจรจาแบบอ่อน
ลักษณะการเจรจา
เน้นที่ความน่าสนใจแทนที่ตำแหน่ง
มีทางเลือกที่หลากหลายก่อนที่จะตัดสินใจ
แยกบุคคลออกจากปัญหา
ยืนยันในผลที่เป็นพื้นฐานตามมาตรฐานของวัตถุสงค์
กระบวนการเจรจาต่อรอง
สิ่งที่มีอิทธิพล คือ อารมณ์
สิ่งที่ต้องตระหนักถึง คือ นโยบาย กฎ และหลักการในเจรณา
สิ่งที่ต้องระลึกว่า ความขัดแย้งในผลประโยชน์หรือการคงอยู่ อาจทำให้ไม่มีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน
การเจรจามี 2 ขั้นตอน
ขั้นตอนที่ 1 เป็นการชี้แนะสิ่งที่ตั้งใจ และบอกเหตุผลก่อนสรุป
ความตั้งใจ อาจจะเป็นสิ่งที่ต้องการ แนะนำ หรือการเสนอความคิดหรือ สนับสนุนความคิด
ขั้นที่ 2 เป็นขั้นตอนเพื่อสร้างความคิดของผู้อื่น เมื่อต้องการที่จะทำให้เกิดประโยชน์
การเตรียมการเพื่อการเจรจาต่อรอง
รู้ว่าอะไรให้อีกฝ่ายหนึ่งได้
รู้ทางเลือกและเพิ่มทางงเลือกให้มีมากหนึ่ง
รู้ความต้องการของตนเองและคู่เจรจา
ฝึกซ้อมการพูดเพื่อต่อรอง การควบอารมณ์และความโกรธ
การทำความเข้าใจคู่เจรจาต่อรอง
บุคลิกภาพแบบสังคม (Socail)
บุคลิกภาพแบบมั่นคง (Steady)
บุคลิกแบบชี้นำ (Direct)
บุลคลิกภาพแบบนักวิเคาระห์ (Analytic)
การเพิ่มบรรยากาศที่ดีในการเจรจาต่อรอง
การย้ำจุดยืนของตนเองมากกว่า 1 ครั้ง
พยายามทำความเข้าใจความรู้สึกและความคิดเห็นของอีกฝ่ายหนึ่ง
การเปิดใจให้กว้าง
ขจัดสิ่งที่ทำให้ไขว้เขว
ความผิดพลาดอย่างรุนแรงของการเจรจาต่อรอง
ความไม่ตระหนักในความแข็งแกร่งของตนเอง
การยึดติดอยู่กับเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือขาดความรอบคอบ
การเชื่อในอำนาจของผู้อื่นมากเกินไป
ล้มเหลวในการมองหาทางเลือกใหม่ๆ
การเจจาต่อรองที่ยึดติดหลักแพ้ - ชนะ
ต้องการหรือคาดหวังมากเกินไป
คิดสั้น มองแต่เหตุการณ์เฉพาะหน้า ไม่มองผลในระยะยาว
เร่งรีบในการรอง
ไม่ยอมอ่อนข้อเเม้เพียงเล็กน้อยเพื่อประโยชน์ส่วนใหญ่
การยอมรับว่าความคิดเห็นเป็นข้อเท็จจริงที่เชื่อได้
การคิดเเต่เพียงว่าสิ่งที่สำคัญที่ทำอยู่เป็นครั้งสุดท้ายแล้ว ต้องทำให้ได้
เห็นแก่อำนาจมากกว่าวิธีการที่เหมาะสม
พูดมาก ฟังน้อย
การตัดสินใจ (Decision Making)
ประเมินทางเลือกนั้นว่าบรรลุเป้าหมายหรือไม่
เลือกทางเลือก
ตัดสินผลลัพท์หรือเป้าหมาย
ระบุทางเลือกรวมทั้งประโยชน์และผลท่ตามมา
ระบุถึงความจำเป็นในการตัดสินใจ
การระบุปัญหาและการวิเคราะห์สถานการณ์
การนำการตัดสินใจไปปฏิบัติ
การประเมินผล
การวินิจฉัยทางเลือก
การเลือกทางเลือกที่ดีที่สุด
ปัจจัยที่จะช่วยให้ผู้บริหารตัดสินใจสถานการณ์ต่างๆ
การคิดในเชิงวิเคราะห์ (Critical Thinking)
การสะท้อนคิด (Reflective Thinking)
วิธีการตัดสินใจแบบสร้างสรรค์ (Creative Decision Making)
การให้การปรึกษา (Consultation)
จริยธรรมในการตัดสินใจ (Ethical Aspect Decision Making)
ทฤษฎีธรรม (Ethical Theory)
การปกครองตนเอง
ความเมตตา
ความจงรักภักดี
ความยุติธรรม
การไม่ทำร้ายผู้อื่น
ความเป็นพ่อแม่
ความเคารพผู้อื่น
ผลประโยชน์
ความซื่อสัตย์
การตัดสินใจและการแก้ปัญหา
เครื่องมือในการตัดสินใจ (Decision -Making Tools)
ทฤษฎีความน่าจะเป็น ( Probability Theory )
ผู้ทีนำการวิเคราะห์มาใช้ จะต้องพิจารณาถึง ความน่าเชื่อถือของตัวอย่าง เวลาที่เพิ่มขึ้นและค่าใช้จ่ายที่สิ้นเปลืองในการเก็บรวบรวมข้อมูลที่มากขึ้น
การจำลองสถานการณ์รูปแบบและเกมส์ (Simulation ,Models and Games)
เพื่อให้เข้าใจปัญหาง่ายขึ้น โดยการบอกถึงส่วนประกอบและใช้การทดลอง แล้วหากเกิดความผิดพลาดจะต้องหาวิธีการแก้ไขและตัดสิน
ต้นไม้การตัดสินใจ (Decision Trees)
เป็นวิธีการทางรูปภาพ ที่จะช่วยให้หัวหน้าจินตนาการทางเลือกที่เป็นไปได้ ผลลัพธ์ ความเสี่ยง และข้อมูลที่จำเป็น จะนำมานำเสนอเป็นภาพ
ช่วยให้
เห็นวิธีที่เป็นไปได้ ทำให้เกิด การตัดสินใจ
มีการประเมินผลในแต่ละช่วงเวลาในการตัดสินใจ
เน้น ผลลัพธ์ในการคาดเดาการตัดสินใจในแต่ละทางเลือก
ตารางแกนท์ (Gant Chart)
ทำให้เกิดจินตนาการในงานที่ต้องทำเป็นตารางของการปิบัติงานที่ระบุถึงความรับผิดชอบ
การประเมินโครงการและการทบทวนเทคนิค (Decision Evaluation and Review Technique : Pert)
เป็นระบบการวางแผนและการควบคุมภายใต้เงื่อนไขที่ไม่แน่นอนในการระบุกิจกรรม
มีช่วงของกิจกรรมในแผนผังที่ปฏิบัติเป็นประจำ
มีการมอบหมายงานในแต่ละช่วงของการทำงาน
ทฤษฎีการเรียงลำดับ (Queuing Theory)
เป็นเทคนิคการคำนวณสำหรับการตัดสินใจ
ความสมดุลย์ที่มีประสิทธฺภาพมากที่สุดสำหรับตัวแปรที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับการบริหารที่ไม่คล่องตัว
การกำหนดแผนระยะยาว (Linear Programming)
เป็นการจำกัดทรัพยาการให้เกิดผลสำเร็จมากที่สุด
อยู่บนพื้นฐานของความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปรของระยะเวลาและบุคคลผู้ปฏิบัติ
แผนภูมิ PERT
มองเห็นงานที่ชัดเจน สมบูรณ์ ก่อนโครงการทั้งหมดจะเสร็จสมบูรณ์
งานย่อยจะต้องเสร็จสมบูรณ์ ก่อนที่งานใหญ่จะเริ่มขึ้น
มีการระบุการจัดลำดับ
การจัดลำดับแผนภูมิ PERT จะเกี่ยวข้องกับปัญหาซึ่งคาดการณ์ไม่ได้
วิถีทางแบบวิกฤต (Criticai Path Method) : CPM
ตัวเลขที่เป็นเงื่อนไขการทำงาน แบบ CPM คือเงื่อนไขในการใช้เวลาที่น้อยไปกว่า แบบทั่วไป
(แบบทั่วไป คือ วิธีการที่มีต้นทุนน้อยที่สุด)
ช่วงเวลาที่มีง่าย --> สามาถทำได้ด้วยมือ
ถ้างานซับซ้อน มาก อาจจะต้องใช้คอมพิวเตอร์
เป็นรูปแบบที่เป็นประโยชน์ โดยมีต้นทุนเป็นตัวแปรสำคัญ ทั้งการคาดหมายเวลาและต้นทุน
เทคนิคเครือข่ายการวิเคราะห์
การวางแผนง่ายขึ้น
ผลของแผนเป็นไปตามเป้าหมาย
โดยมีการระบุแนวทางแบบวิกฤต
แสดงความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน ระหว่างองค์ประกอบต่างๆ
การใช้เทคโนโลยีในการตัดสินใจ (Use of Technology in Decision Making)
การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อประโยชน์ในการพยาบาลในการตัดสินใจ
จำเป็นต้องรู้ข้อมูลที่ทันสมัยอย่างทันท่วงที
การประเมินที่เน้นการเข้าถึงเป้าหมาย (The Purpose -Focus-Approach Assessment : P-F-A)
ระบบสารสนเทศ
ระบบการจัดการข้อมูล
ระบบการควบคุมผู้ป่วย
บันทึกผลตอบรับของผู้ป่วย
โดยคอมพิวเตอร์จะช่วยเตือนพยาบาลในการปรับปรุง
ทำให้พยาบาลช่วยเหลือได้ทันเวลา
ในระบบการศึกษา
การแพร่กระจายข้อมูลด้วยระบบทางไกล
ระบบการรักษาพยาบาลคอมพิวเตอร์ ใช้กับ
ประวัติผู้ป่วย
ประวัติการใช้ยา
การตรวจผู้ป่วย
การบริหารเวลา การลำดับความสำคัญและการบริหารความเครียด
(Time Management ,Setting Priorities and Stress Management)
แนวคิดในการบริหารจัดการ (Time Management Concepts
เน้นความพยายาม เป็นสิ่งสำคัญที่ทำให้เป็นผลที่ดีที่สุด 80 %ของความพยายาม
การบริหารเวลา 20% ของความพยายาม
การวิเคราะห์กระบวนการตัดสินใจ
การเก็บรวบรวมและการวิเคราะห์ข้อมูล
หาวิธีแก้ปัญหาวิเคาระห์ทางเลือก
พิจารณาถึงผลดี ผลเสียของแต่ละวิธี
เลือกวิธีที่ดีที่สุดไปใช้
ดำเนินการสั่งการ
ประเมินผลตัดสินใจ
การระบุปัญหาหรือกำหนดปัญหา
การบริหารจัดการเวลา
จัดระบบงานให้เป็นระบบ
จัดเตรียมข้อมูลงานที่จะต้องทำ
การจัดงานตามลำดับความเร่งด่วน
การจัดเเบ่งข้อมูลข่าวสารให้เป็นหมวดหมู่
โต๊ะทำงานเอื้อต่อการปฏิบัติงาน
ปรับปรุงความมีวินัยในตนเอง
การประเมินตนเองโดยการยึด "สำรวจตนเองและสำรวจงาน"
มีสมาธิในการทำงาน
ไม่เป็นคนผัดวันประกันพรุ่ง
การมอบหมายงานให้ผู้อื่นปฏิบัติ
การกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้ร่วมงานไว้อย่างชัดเจน
การช่วยเหลือผู้ใต้บังคับบัญชาในกำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายในการทำงาน
การจัดหารางวัลตอบแทนให้กับผู้ปฏิบัติงานได้ดีเด่น
หลีกเลี่ยงงานที่เปล่าประโยชน์
ใช้เวลาพักกลางวันให้มีค่า
หลีกเลี่ยงกิจกรรมที่ทำลายเวลาหรือกิจกรรมที่ทำให้เสียเวลาในการทำงาน
ใช้เวลารอคอยให้เกิดประโยชน์
การวางแผนจัดการใช้เวลา
งานเร่งด่วน
งานประจำวัน
งานที่รอได้
การประเมินผลการใช้เวลา
ประเมินความก้าวหน้าของงาน
ประเมินการใช้เวลาในการทำกิจกรรมย่อย เช่น การประชุม การโทรศัพท์หรือการติดต่อกับบุคคลภายนอก
ใช้เวลาสำหรับการพักผ่อนแก่ตัวเองและผู้ร่วมงานบ้าง
อุปสรรคของการจัดการเวลา
การกลัววความล้มเหลว ทำให้ไม่กล้าตัดสินใจที่จะลงมือปฏิบัติงาน
การคาดหวังความสมบูรณ์แบบ
การทำงานหลายๆ อย่างในเวลาเดียวกัน
ความไม่พึงพอใจในงานที่ทำ
การผัดวันประกันพรุ่ง
การขาดความอดทน
การขาดขวัญและกำลังใจ
การเสียเวลาคิดและพูดมากเกินไป
การไม่กล้าบอกปฏิเสธ การปฏิบัติงานต่างๆ
การควบคุมความเครียด (Stress Control )
การตั้งเป้าหมาย
การจัดตารางเวลา
การจัดการกับเวลา
การสร้างความมั่นใจ
การหยุดความรู้สึก
การบอกตัวเอง
การลำดับเหตุการณ์
การหยุดความคิด
การเปลี่ยนสิ่งเเวดล้อม
ความสมดุล
โภชนาการ
การนอน
การผ่อนคลาย (Relaxation)
การหายใจจากช่องท้อง
การเพิ่มคุณค่าของตนเอง
การอาบน้ำ
เพลง
จินตภาพและการคิดจินตนาการ
การทำสมาธิ
การฝึกฝนด้วยตนเอง
การตอบสนองร่างกาย
การผ่อนคลายด้วยตนเอง
การนวด